พุทธจริยศาสตร์ว่าด้วยการยุติการรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้าย

Main Article Content

มะลิ ธีรบัณฑิตกุล
เกศรินทร์ ผันผาย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การยุติการรักษา ในการยืดชีวิตของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ตามหลักของกฎหมาย และในมุมมองพุทธจริยศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายให้ผู้ป่วยมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการเสียชีวิตในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้ด้วยตนเองขณะมีสติครบถ้วน และให้สิทธิแก่ญาติใกล้ชิดตัดสินใจร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถตอบโต้หรือรับรู้ด้วยตนเองได้


การวิเคราะห์มุมมองของพุทธจริยศาสตร์ ในกรณีผู้ป่วยทำหนังสือแสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนแล้ว  ถือเป็นการแสดงผลความเป็นไปได้เพื่อยุติการรักษา ตามเงื่อนไขตามกฎหมาย ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม เพราะเมื่อมองตามหลักพระพุทธศาสนาแล้ว คุณค่าของชีวิตอยู่ที่ความดีที่ได้กระทำมากกว่าการมีอายุที่ยืนยาว


ฉะนั้น การที่ผู้ป่วยแสดงเจตนารมณ์ไม่รับบริการสาธารณสุขเพื่อยืดการเสียชีวิตในวาระสุดท้ายหรือยุติความทรมานจากการเจ็บป่วย สามารถกระทำได้ ในกรณีอาศัยการตัดสินใจของญาติ ควรเป็นไปโดยเจตนาด้านกุศลกรรม บนพื้นฐานความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ส่วนบุคลากรทางการแพทย์ควรปฏิบัติต่อผู้อื่นแบบกัลยาณมิตร มีความเมตตาแก่ญาติผู้ป่วย และไม่กระทำการใดๆ เพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยเพียงเพราะต้องการผลประโยชน์จากค่ารักษาพยาบาล


Abstract


This article aimed to study and analyze the treatment cessation for life extending of terminally ill patients by the law and Buddhist ethics view. The study found that patients


have the right to make a letter of intent not to receive public health services leading to life extension or the end of torture from illness while they’re fully conscious on their own. And in case of unresponsive patients, relatives and doctors are able to make a decision together.


In case of patients, who had made a letter of intent, an analysis by Buddhist ethics views is considered to be an indication of possibility for treatment cessation by legal and ethical conditions. By principles of Buddhism, the value of life is based on good deeds rather than longevity.


Therefore, the patients’ intention to not receive public health services is able to do in order to extend death in the last moment or to prevent the torture from illness. According to the decision of relatives, it should be done or based on good and moral intentions. For medical personnel, it should be done as good friends having compassion and loving kindness for patients’ relatives. They should not do anything in order only to extend patient’s life for medical expenses.


บรรณานุกรม


กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและระยะท้าย (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.


ปราณี อ่อนศรี. (2557). บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามความเชื่อทางศาสนา. วารสารพยาบาลทหารบก. 15 (2), 39-43.


พระเทวินทร์ เทวินฺโท. (2549). แก่นพุทธจริยศาสตร์พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดา.


พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546) พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.


พระมหาวิศักดิ์ เชยชมศรี. (2550). การศึกษาวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.


พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร. (2563). พุทธจริยศาสตร์กับอัตวินิบาตกรรม. สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.


พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2556). พุทธจริยศาสตร์กับประเด็นปัญหาจริยธรรม เรื่องการฆ่าตัวตาย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.  


พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต). (2527). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร:     โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.


พระวีรพรรณ วุฑฺฒิธมฺโม. (2552). อิทธิพลของความเชื่อในอรรถกถาธรรมบทที่มีต่อประเพณีไทย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.


มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพหมานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.  


ร่มธง สินธุประสิทธิ์ และอภิรัตน์ กังสดารพร. (2562). อำนาจและความรู้กับสิทธิในการปฏิเสธการรักษาพยาบาลในวาระสุดท้ายของชีวิต. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 37(2), 104-114.


วศิน อินทสระ. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บรรณาคาร.


สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2561). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4. นนทบุรี: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).


สถาพร วิชัยรัมย์. (15 สิงหาคม 2564). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2565, จาก https://pa.bru.ac.th/2021/08/15/ethics01/


แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2558). การรักษาพยาบาลผู้ป่วยวาระสุดท้าย: ความจริงทางการแพทย์กับขอบเขตทางกฎหมาย. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. 1(3), 241-253.


อำพล จิตดาวัฒนะ และ อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร. (2556). คู่มือสำหรับประชาชน การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care). นนทบุรี: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.


ดรุณี คิดกล้า. (3 กรกฎาคม 2556). ความหมายของจริยธรรม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2565, จาก https:// sites.google.com/site/daruneekidkla/keiyw-kab-criythrrm/khwam-hmay-khxng-criythrrm

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและระยะท้าย (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ปราณี อ่อนศรี. (2557). บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามความเชื่อทางศาสนา. วารสารพยาบาลทหารบก. 15 (2), 39-43.

พระเทวินทร์ เทวินฺโท. (2549). แก่นพุทธจริยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดา.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546) พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาวิศักดิ์ เชยชมศรี. (2550). การศึกษาวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร. (2563). พุทธจริยศาสตร์กับอัตวินิบาตกรรม. สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2556). พุทธจริยศาสตร์กับประเด็นปัญหาจริยธรรม เรื่องการฆ่าตัวตาย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต). (2527). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระวีรพรรณ วุฑฺฒิธมฺโม. (2552). อิทธิพลของความเชื่อในอรรถกถาธรรมบทที่มีต่อประเพณีไทย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพหมานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ร่มธง สินธุประสิทธิ์ และอภิรัตน์ กังสดารพร. (2562). อำนาจและความรู้กับสิทธิในการปฏิเสธการรักษาพยาบาลในวาระสุดท้ายของชีวิต. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 37(2), 104-114.

วศิน อินทสระ. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บรรณาคาร.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2561). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4. นนทบุรี: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).

สถาพร วิชัยรัมย์. (15 สิงหาคม 2564). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2565, จาก https://pa.bru.ac.th/2021/08/15/ethics01/

แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2558). การรักษาพยาบาลผู้ป่วยวาระสุดท้าย: ความจริงทางการแพทย์กับขอบเขตทางกฎหมาย. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. 1(3), 241-253.

อำพล จิตดาวัฒนะ และ อุกฤษฎ์ มิลินทางกูร. (2556). คู่มือสำหรับประชาชน การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care). นนทบุรี: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.

ดรุณี คิดกล้า. (3 กรกฎาคม 2556). ความหมายของจริยธรรม. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2565, จาก https:// sites.google.com/site/daruneekidkla/keiyw-kab-criythrrm/khwam-hmay-khxng-criythrrm