คตินิยมการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา

Main Article Content

พระนิติพัฒน์ อุชุจาโร
พระอธิวัฒน์ รตนวณฺโณ (ธรรมวัฒน์ศิริ)
พระมหาจักรพันธ์ สุรเตโช

บทคัดย่อ


บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาคติการสร้างพระพุทธรูปและพระพุทธรูปทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสร้างพระพุทธรูป และพระพุทธรูปทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ




ผลการวิจัยพบว่า 1) คติการสร้างพระพุทธรูปในพระพุทธศาสนาได้แสดงถึงพลังแห่งศรัทธาว่าของชาวพุทธ ที่ต้องการที่จะสร้างวัตถุเป็นเครื่องหมายแทนพระพุทธเจ้า กำเนิดและพัฒนาการแห่งพระพุทธรูป  (1) พระพุทธนิรมิต (2) พระพุทธฉายพระพุทธฉายเป็นรูปเปรียบอีกแบบหนึ่งของพระพุทธเจ้า (3) พระแก่นจันทน์ การสร้างให้ตรงตามตำรามหาบุรุษลักษณะ 32 และอนุพยัญชนะ 80 ซึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา  คตินิยมการสร้างพระพุทธเจ้าทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา 1) สร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องตามแนวคิดของพระพุทธศาสนามหายาน  2) สร้างพระพุทธเจ้าทรงเครื่องตามคติพระศรีอาริยเมตไตรย 3) สร้างพระพุทธเจ้าทรงเครื่องตามคติตามคัมภีร์ชมพูบดีสูตร




 2) พระพุทธรูปทรงเครื่อง ปรากฏหลักฐานการสร้างในศิลปะอินเดีย พุทธศตวรรษที่ 14–17 ในประเทศไทยนิยมสร้างในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลางจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์  ลักษณะของรูปแบบการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่อง ประเภทรูปแบบการการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา  1) สร้างตามคติว่าพระเจ้าจักรพรรดิราช 2) สร้างตามคติพระศรีอาริยเมตไตรย พระศรีอาริยเมตไตรย  3) สร้างตามคติตามคัมภีร์ชมพูบดีสูตร สำหรับ หลักธรรมเกี่ยวกับการสร้างพระพุทธรูปในพุทธศาสนา ได้แก่ หลักกุศลกรรมบถ ศรัทธา 4 เจดีย์ 4 บุญกิริยาวัตถุ 10 บารมี 10  ด้านอิทธิพลของการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องในพระพุทธศาสนา อิทธิพลต่อผู้สร้าง อิทธิพลต่ออผู้พบเห็น อิทธิพลต่อพระพุทธศาสนา และอิทธิพลต่อสังคม


บรรณานุกรม
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2559). ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม ภาค 1. กรุงเทพมหานคร : ผลิธัมม์.
อรศรี งามวิทยพงศ์ และ คณะ (2561). กลยุทธ์ ฟื้นวัด คืนธรรม นำเมือง. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.(สสส.)..กรุงเทพมหานคร:.สถาบันอาศณมศิลป์.
พระครูปลัดชินกร แก้วนิล (จริยเมธี). (2550). การเปลี่ยนแปลงความหมายและคุณค่าของปอยส่างลองในสังคมไทยใหญ่ปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระมหาแสนยากร สิริภทฺโท (เมธีไกรสรพงศ์). (2554). การศึกษาสามเณรผู้เป็เหล่ากอแห่งสมณะในพระพุทธศาสนาเถวาท..วิทยานิพนธ์.พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเฉลิม ชาติวโร (อิทธะวงค์). (2551). กระบวนการพัฒนาจริยธรรมผ่านการบวช. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พระครูประสุตโพธิคุณ. (2563). ความเป็นเกินจริงในพิธีกรรมการอุปสมบทในพระพุทธศาสนามองผ่านปรัชญาหลังนวยุค. ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
ข่าวสดออนไลน์. (30 กันยายน 2562). คุกอ่วม 16 โจ๋ แก๊งงานบวช วัดสิงห์ บุกพังห้องสอบ คอตกนอนคุก ไร้ญาติประกัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_2933721
Albert Bandura. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, Jersey: Prentice-Hall.
Chamlerng Vuttichan. (2525). Personal Research Paper: Sangha and Religious Affairs for National Security. Bangkok: Religious Affaires Printing House.


 


Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คึกเดช กันตามระ. (2535). การศึกษาวิวัฒนาการและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของศิลปะและสังคมจากรููปลักษณ์พระพุุทธปฏิมากร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตจุุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จตุพร วรวัชรพงศ์. (2549). ที่่มาของพระพุุทธรููปทรงเครื่่องศิลปะขอมที่่พบในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัชวาล อัชฌากุุล. (2561). คติการสร้างพระพุุทธรููปทรงเครื่่องในสังคมไทย. ดุุษฎีนิพนธ์พุุทธศาสตรดุุษฏีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ณัฐา คุ้มแก้ว.(2552). การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมภาคใต้เรื่่อองพระยาชมพูู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธนภัทร์์ ลิ้มหัสนัยกุุล. (2558). ชมพููบดีสููตรในจิตรกรรมฝาผนังช่่วงพุุทธศตวรรษที่่ 24– 25. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ผาสุุก อินทราวุุธ. (2530). พุุทธศาสนาและประติมากรรม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศศิ ยุุกตะนันทน์. (2532). คตินิยมในการสร้างพระเจ้าทรงเครื่่องในสมััยอยุุธยา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์. มหาวิทยาลัย

ศิลปากร.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2564). พระพุุทธรููปทรงเครื่่องต้นอย่่างพระมหาจักรพรรดิงานช่างชั้นสููงในราชสำนัก. ดำรงวิชาการ. 20 (2), 3.

ศานติ ภักดีคํา. (2549). จิตรกรรมฝาผนังเรื่่อง “ท้าวมหาชมพูู” พระอุุโบสถ วัดนางนองวรวิหาร. เมืองโบราณ.32 (3), 33.

แสง มนวิทููร. (2512). คัมภีร์ลลิตวิสตระ พระพุุทธประวัติฝ่ายมหายาน. กรุุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.