ปรัชญาพุุทธศาสนานิกายเซน อิทธิพลสู่ยุคปัจจุบัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาจริยศาสตร์ผู้ใช้พุทธศาสนานิกายเซน 2. เพื่อวิเคราะห์การปลูกพลังเสียสละผู้คนด้วยพุทธศาสนานิกายเซน ผลการวิจัย พบว่า นิกายเซนที่เราเข้าใจได้ง่ายปฏิบัติตามได้ง่าย เป็นองค์ทะไลลามะและที่ภาษาใกล้เคียงไทย มาก คือหลวงปู่ติช นัท ฮันห์แห่งบ้านพลัม ที่น่าสนใจในเมืองไทยเรามีองค์กรอย่างแพทย์ วิถีธรรม ผู้วิจัยศึกษาด้วยการเข้าไปเป็นอาสาหลัก ผลพบว่าแพทย์วิถีธรรมไม่ระบุนิกายมี ความเป็นเซนที่ปฏิบัติสมาธิอยู่กับการงานและช่วยเหลือสังคมอย่างกว้างขวาง ใช้ปัญญาที่ ลึกซึ้ง แต่มีจุดเด่นที่ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายคือทําเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
และ ผู้ที่มีบารมีเมื่อมารวมกันจะเกิดอจินไต คือสิ่งที่เหลือเชื่อไม่ใช้อิทธิฤทธิ์ แต่ กิจกรรมที่ดีงามเป็นองค์ประกอบที่ลงตัวโดยไม่ต้องวางแผน ทําเฉพาะงานที่เป็นยุทธศาสตร์ สําคัญจําเป็นของชีวิตและเอื้อแก่การฝึกฝน ทําหนึ่งงานสําเร็จก็ได้ไม่สําเร็จก็ได้แต่บรรลุใน ตนพร้อมช่วยให้ผู้อื่นบรรลุตามสําเร็จตลอด “ความสําเร็จของใจคือความสําเร็จของงาน” ปฏิบัติธรรมในทุกอณูของการทํางาน ไม่ตั้งขยายกว้างเพราะเข้าใจว่าแนวนี้เมื่อลีกจะกว้าง ห้ามก็ไม่อยู่ ตัวชี้วัดของโพธิสัตหรือพุทธแท้
Article Details
References
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เซนไค ชิบายามะ (2526). ดอกไม้ไม่จํานรรจ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์เคล็ดไทย.
ติช นัท ฮันห์ เขียน พจนา จันทรสันติ แปล. (2532), กุญแจเซน. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิ โกมลคีมทอง.
สุวรรณา สถาอานันท์. (2534), ภูมิปัญญาวิชาเซ็น บทวิเคราะห์คําสอนปรมาจารย์โดเก็น กรุงเทพมหานคร : ศยาม
Jaiphet Klajon. (2 มิถุนายน 2558), วารสารแพทย์วิถีธรรม, สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564, จาก: https://morkeaw.net/magazine/magazine02.pdf
ดร.ใจเพชร กล้าจน. (1 เมษายน 2564). ธรรมะกับการดูแลสุขภาพ สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564, จาก: https://morkeaw.net/dhamma-with-bud-
dhist-dhamma