การพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุตามแนวพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัยผู้ใหญ่ หรือย่างเข้าสู่วัยอายุ 50 ปี สภาพของการเจริญเติบโตก็จะหยุดลงและเริ่ม เสื่อมถอยตลอดเวลา ซึ่งเป็นสัญญาณการก้าวย่างเข้าสู่วัยชราหรือผู้สูงวัยซึ่งการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับการดูแลและเอาใจใส่สุขภาพของแต่ละคน การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพของร่างกายผู้สูงวัยย่อมมีผลต่อสุขภาพจิตใจทําให้เกิดปัญหาอุปสรรคต่อการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและการสูญเสีย ในสิ่งต่างๆ เช่น การออกจากงาน ความสัมพันธ์ทางสังคมในช่วงที่มีตําแหน่งหน้าที่ เมื่อ หมดหน้าที่แล้วรู้สึกว่าตัวเองไม่มีคุณค่า ทําให้เป็นโรคซึมเศร้าเนื่องจากห่างเพื่อนรวมถึงการ ขาดรายได้ในแต่ละเดือน จึงส่งผลให้ผู้สูงวัยดําเนินชีวิตด้วยความลําาบาก ในปัจจุบันสุขภาพของประชาชนชาวไทยได้เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งผลมาจากสิ่งแวดล้อมและวิธีการดํารงชีวิตเป็นอย่างมาก การที่จะทําให้คนไทยโดยเฉพาะผู้สูงวัยให้มีสุขภาพดีถ้วนหน้านั้น นับว่าเป็นภารกิจค่อนข้างยากเพราะว่าการที่จะมีสุขภาพดี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับแพทย์พยาบาลหรือ เทคโนโลยีการรักษาพยาบาลแต่เพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กับความเตรียมพร้อมของแต่ละ บุคคล หลักสําคัญของการที่จะให้มีสุขภาพดีคือ การที่ทุกคนทุกเพศทุกวัยต้องตระหนัก ว่า ตนเองต้องมีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของตนเอง โดยมีสุขภาพที่ถูกต้อง ซึ่งจะเป็น ประการสําคัญที่จะป้องกันตนเองและครอบครัวปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
Article Details
References
พระครูภาวนาโพธิคุณ. (2552). ศึกษามีความสุขภาวะองค์รวมวิถีพุทธ, วารสารพุทธศาสตร์-ปรัชญาปริทรรศน์, 2 (1): 2.
ไทยพีบีเอส ข่าวสังคม. (2 ตุลาคม 2559). สู่วัยชราอย่างสุขใจ-สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ต้องเริ่มตั้งแต่อายุ 45. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2561, จาก https://news. thaipbs.or.th/content/256279
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์, ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2549). ประชากรไทยในอนาคต. สืบค้นเมื่อ16 มกราคม 2564, จาก http://www.ipsr.mahidol.ac.th
พระไตรปิฎกภาษาไทย
ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมกิตติวงศ์. (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดศัพท์วิเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เลี่ยงเชียง.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). ทุกข์สําหรับเห็น แต่สุขสําหรับเป็น (แก่นแท้ พระพุทธศาสนา), พิมพ์ ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก
___________________.“สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ” วารสารพุทธจักร, ปีที่ 59 ฉบับที่ 11 (พฤศจิกายน 2548).
___________________.พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์. (2556). พิมพ์ครั้งที่ 16 กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาธรรมสภา
___________________.พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (2551). พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์. (2550), พัฒนาการมนุษย์ (Human Development), พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. (2559). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จํากัด ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
วิพุธ พูลเจริญ. (2544). สุขภาพ: อุดมการณ์และยุทธศาสตร์ทางสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2540), จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย, พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2549). การตายและความตายในผู้ป่วยสูงอายุ บทความจากความ ตายและ การตาย: มุมมองจากศาสนากับวิทยาศาสตร์, กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์ศตวรรษกชน. (2552). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 - 2564). สืบค้น เมื่อ 16 มกราคม 2564, จาก https://www.dop.go.th/th/laws/1/28/766 สถาบันวิจัยประชากรและสังคมแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล. (2553). ภาวะสูงวัยของประชากร. สืบค้น
เมื่อ 16 มกราคม 2564 http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/ Research Clusters.aspx?Sunanta
สมเด็จพระญาณสังวร (24 พฤศจิกายน 2559), ธรรมสมาธิ อานาปานสติ สติปัฏฐาน สืบค้นเมื่อ 16มกราคม 2564, จาก http://sites.goolgle.com/site/
smartdhamma/kay-wethan-dt-thrrm. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). รายงานวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2557). ประชากร สูงอายุไทย เอกสารประมวลสถิติด้านสังคม 1/2558. พิมพ์ครั้งที่ กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สุภาพร อาจเดช. (2555). เอกสารประกอบการพิจารณา เรื่อง สุขอนามัยในสถานศึกษา และสภาวการณ์เกี่ยวกับโรคระบาดที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา คณะกรรมาธิการ
การศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24. กรุงเทพมหานคร: กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการศึกษา สานักกรรมาธิการ 3.