การจัดการทรัพยากรน้ำตามหลักพระพุทธศาสนา

Main Article Content

อนันต์ แย้มไพบูลย์
ธาวิษ ถนอมจิตศ์

บทคัดย่อ

การจัดการทรัพยากรน้ําในมุมมองของพระพุทธศาสนา กล่าวได้ว่าแหล่งน้ําในทุกแห่งมีความสําคัญอย่างยิ่ง และถือเป็นองค์ประกอบที่สําคัญประการหนึ่งของระบบ นิเวศ การรักษาความสะอาดของแหล่งน้ํา จึงเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องกระทํา ใช้น้ําร่วมกันได้ อย่างเป็นสุข ให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน เกิดความสามัคคี คือ พลังในการจัดการน้ําให้ เกิดความยั่งยืน ฉะนั้นหากมีการจัดการทรัพยากรน้ําตามหลักพระพุทธศาสนา แล้วมนุษย์ก็จะรู้จักแบ่งปันน้ําและนําน้ําไปใช้ได้อย่างไม่เกิดปัญหาด้วยเหตุนี้ผู้เขียน จึงมีความสนใจในการศึกษาการจัดการทรัพยากรน้ําตามหลัก คําสอนของพระพุทธศาสนา โดยใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ดังนี้ 1) ทาน คือ การให้ การแบ่งปัน ให้น้ําเป็นทาน 2) ปิยวาจา ใช้ปุ๋ยวาจาในการเจรจาต่อรองเพื่อแก้ปัญหาน้ํา 3) อัตถจริยา คือ การร่วมแรงกันเสียสละตนเองในการบําเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม 4) สมานัตตตา คือ ความเสมอต้นเสมอปลาย ซึ่งเป็นหลักพุทธธรรมคําสอนที่สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรน้ําให้เกิดมั่นคงและความยั่งยืนต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวล ธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์?

บงกช เอกกาญธนกร. (2557). “ปัญหาเกี่ยวกับการพกพาอาวุธปืนในประเทศไทย” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. คณะนิติศาสตร์ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร.

ไทยพีบีเอส. “รอยเตอร์ชี้ไทยมีผู้ครอบครองปืนมากที่สุดในอาเซียน” [ออนไลน์]. แหล่ง ที่มา

: www.ไทยพีบีเอส.co.th/รอยเตอร์ชี้ไทยมีผู้ครอบครองปืนมากที่สุดใน อาเซียน/ สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2562

ปราโมทย์ ไม้กลัด. (2548). ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรน้ําในประเทศไทย, เอกสาร ประกอบการบรรยาย, เชียงใหม่ : คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พระสมบูรณ์ ปูรณปุญโญ (พุ่มจันทร์). (2554). “บทบาทของพระสงฆ์วัดพระบรมธาตุดอย ผาส้ม ในการส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อม ศูนย์การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เศรษฐกิจพอเพียง ตําาบลแม่สาบ อําาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่” การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). จารึกอโศก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ผลิธัมม์.

วีระชัย โชคมุกดา. (2554), พลิกแดนภารตะ ประวัติศาสตร์อินเดียอารยธรรมตะวันออก ไม่มีวันล่มสลาย. กรุงเทพมหานคร : ยิบซี

อํานาจ เจริญศิลป์. (2543). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์

สุภัทรา นีลวัชระ วรรณพิณ และ ศุภวรรณ ชวรัตนวงศ์. (2551), อินเดีย : อดีต – ปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร : สนพ.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กรมทรัพยากรน้ํา (28 กรกฎาคม 2561) การจัดการทรัพยากรน้ํา, สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.dwr.go.th/contents/content/

files/001007/0000087_1.ppt

พระราชธรรมมุนี (เกียรติ สุกิตติ). (16 กรกฎาคม 2564), 16 แคว้นในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.vichadham.com/buddha/ city16.html