แนวคิดด้านจริยศาสตร์ในคัมภีร์อนาคตวงศ์

Main Article Content

สันติ สุขประเสริฐ
มัชฌิมา วชิระโพธิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดด้านจริยศาสตร์เกี่ยวกับการบำเพ็ญมหากุศลโดยถวายชีวิตเป็นทานซึ่งจัดเป็นทานปรมัตถบารมีตามที่ปรากฏในคัมภีร์อนาคตวงศ์ ที่กล่าวถึงการถวายเลือดเนื้อเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายสูงสุดในชีวิตเป็นการกระทำโดยอิงอาศัยศรัทธาและความกล้าหาญของพระโพธิสัตว์เป็นหลัก แต่วิธีดังกล่าวใช่ว่าจะขัดกับหลักจริยธรรมในทางพระพุทธศาสนาหรือไม่เท่านั้น เรื่องราวทั้งหลายที่มีปรากฏในคัมภีร์อนาคตวงศ์ยังสร้างมาตรฐานและต้นแบบของการนับถือพระพุทธศาสนาจนเกิดเป็นความเชื่อทางลัทธิประชานิยมซึ่งส่งผลกระทบกับพระพุทธศาสนา พร้อมความเชื่อและหลักการแนวทางประพฤติปฏิบัติที่ผิดจารีตเดิม และยังขัดกับหลักการของเหตุและผลในทางพระพุทธศาสนาด้วย


การศึกษาแนวคิดด้านจริยศาสตร์ในคัมภีร์อนาคตวงศ์เป็นการแสดงให้เห็นมิติที่แตกต่างกันของการบำเพ็ญทานปรมัตถบารมีและความมีเหตุมีผลที่อิงอาศัยหลักการในพระธรรมวินัยในเชิงจริยศาสตร์ อีกทั้งชี้ให้เห็นวัตถุประสงค์ของผู้แต่งคัมภีร์ในแง่มุมที่ต่างออกไป


This article aimed to study the ethical concept in making merit by life-dedication, which is classified as a paramattha pãramī (ultimate perfection) seen in Anãgatavaṃsa. In this scripture, it had mentioned about life-dedication to achieve the ultimate goal in life which had done by faith and bravery of Bodhisattva. But this means is not only against the ethical principles of Buddhism, the stories that appeared in Anãgatavaṃsa also created standards and prototypes of Buddhism until it became a populist belief that affected Buddhism within unconventional faith and principle of deeds. It also opposes the principles of cause and result in Buddhism as well.


The study of ethical concepts in Anãgatavaṃsa exemplifies the different dimensions of ethical self-dedication and rationality based on the principles of the Dhammavinaya. It also points to a different aspect of the author's purpose.


 


บรรณานุกรม
กรมการศาสนา. (2514). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์กรมการศาสนา
คมชัดลึกออนไลน์. (10 ธันวาคม 2564).."อัตวินิบาตกรรม" การตายที่ไม่หลุดพ้น.
สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566, จาก https://www.komchadluek.
net/news/496340.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์, รศ. (2540). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหา
วิทยาลัยรามคําแหง.
พระมหากันต์ วฑฺฒนวํโส (มโนวัฒนันท์). (2537). การศึกษาเปรียบเทียบแนวความ
คิดเรื่องเกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมในจริยศาสตร์ของค้านท์กับใน
พุทธจริยศาสตร์ตามทรรศนะของพระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต).
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). พจนานุกรมพุทธศาสน์
ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก.
พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี). (22 เมษายน 2564). ศรัทธาที่วิปริตออกนอกแนวพุทธ.
สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566, จาก https://web.facebook.com/v.
vajiramedhi/photo/a.10152716740405877/10157781819610877/?
type=3&_rdc=1&_rdr
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
โชษิตา มณีใส และ นิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์. (2554). การคิด อ่านและเขียนอย่าง
มีวิจารณญาณ. (หน้า 121). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์. (2481). ลายพระหัตถ์ถึงพระยา
อนุมานราชธน ใน สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์. บันทึกความ
รู้ต่าง ๆ เล่ม 2 (หน้า 177) : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒนมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ
ปรินายก. (2555). ทศบารมี ทศพิธราชธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ศรัณย์ ทองปาน. (2552). ลัทธิอนาคตวงศ์ : พุทธศาสนาประชานิยมยุคต้นกรุง
รัตนโกสินทร์. วารสารดำรงวิชาการ. 18 (1), 102-115.
ศรัณย์ วงศ์คำจันทร์. (2537). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อมรการพิมพ์
อเนก นาวิกมูล. (2547). ถนนสายอดีต. กรุงเทพมหานคร : สายธาร.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา. (2514). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมการศาสนา

คมชัดลึกออนไลน์. (10 ธันวาคม 2564). "อัตวินิบาตกรรม" การตายที่ไม่หลุดพ้น. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2566, จาก https://www.komchadluek.net/news/496340.

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์, รศ. (2540). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

พระมหากันต์ วฑฺฒนวํโส (มโนวัฒนันท์). (2537). “การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องเกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรมในจริยศาสตร์ของค้านท์กับในพุทธจริยศาสตร์ตามทรรศนะของพระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต)” ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก.

พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี). (22 เมษายน 2564). ศรัทธาที่วิปริตออกนอกแนวพุทธ. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566, จาก https://web.facebook.com/v.vajiramedhi/photos/a.10152716740405877/10157781819610877/?type=3&_rdc=1&_rdr.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

โชษิตา มณีใส และ นิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์. (2554). การคิด อ่านและเขียนอย่างมีวิจารณญาณ (หน้า 121). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์. (2481). ลายพระหัตถ์ถึงพระยาอนุมานราชธน ใน สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์. บันทึกความรู้ต่าง ๆ เล่ม 2 (หน้า 177). [ม.ป.ท.]: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. องค์การคุรุสภา

สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒนมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก. (2555). ทศบารมี ทศพิธราชธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ศรัณย์ ทองปาน. (2552). ลัทธิอนาคตวงศ์: พุทธศาสนาประชานิยมยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์. วารสารดำรงวิชาการ. 18 (1), 102 - 115.

ศรัณย์ วงศ์คำจันทร์. (2537). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อมรการพิมพ์

อเนก นาวิกมูล. (2547). “จระเข้บอกตำแหน่งเกาะนายเรืองถูกเปลี่ยนหัว” ใน อเนก นาวิกมูล. ถนนสายอดีต (หน้า 108 -109). กรุงเทพมหานคร : สายธาร.