ความสุขของผู้สูงวัยตามหลักพระพุทธศาสนา

Main Article Content

อาจ เมธารักษ์

บทคัดย่อ







บทคัดย่อ





บทความวิจัย เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ (1) เพื่อศึกษาความสุขตามหลักพระพุทธศาสนา (2) วิเคราะห์เพื่อศึกษาความสุขของผู้สูงวัยตามหลักพระพุทธศาสนา ผลการวิจัยพบว่า ความสุข ใน พระพุทธศาสนา ความสุขแบ่งออกเป็น 2 หมวด แต่ละหมวด มี 6 ประเภท หมวดที่ 1 ได้แก่ 1) ความสุขทาง กาย (กายิกสุข) คือสุขที่เกิดจากการได้รับความสะดวกสบายจากปัจจัยพื้นฐาน มีสุขภาพชีวิตที่ดี 2) ความสุข ทางใจ (เจตสิกสุข) คือสุขใจ ที่เกิดจากความสงบ ปีติ และหมวดที่ 2 ได้แก่ 1) สุขอิงอามิส(สามิสสุข) คือ สุข อาศัยเหยื่อล่อ หรือกามคุณ 2) สุขไม่อิงอามิส (นิรามิสสุข) คือสุขไม่ต้องอาศัยเหยื่อล่อ ปลอดโปร่งเพราะใจ สงบมนุษย์ทุกคนทําทุกอย่างเพื่อให้ได้ความสุข ทั้งในด้านการประกอบอาชีพ การทํางาน หาเงิน รวมทั้งด้าน การใช้ชีวิตประจําวัน การแสวงหาความสุขจึงเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ เราจะไม่มีความพอใจจนกว่าจะได้ เข้าถึงความสุขที่สมบูรณ์ นั่นคือ การได้สัมผัสถึงความสงบ ความรัก ความรอบรู้ความเบิกบานใจ


ผู้สูงอายุ อยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงมากด้านวิถีชีวิต เศรษฐกิจในปัจจุบัน ถูกปล่อยให้อยู่ตาม ลําพังเป็นส่วนใหญ่ โดยส่วนตัวก็มีปัญหา หลายทาง เช่น ด้านร่างกายที่เสื่อมสภาพตามกาลเวลา เจ็บป่วย ด้าน จิตใจและอารมณ์ ที่รู้สึกเหงา ซึมเศร้า ด้านสังคม ที่ผู้สูงอายุถูกลดบทบาทและความสําคัญลง ทําให้มีความรู้สึก ว่า ตนไม่มีประโยชน์หมดคุณค่า พุทธวิธีที่จะทําให้ผู้สูงอายุดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความรู้และเข้าใจ ตนเองได้อย่างประจักษ์ ด้วยการนําเอาหลักอริยสัจ 4 มาปรับใช้ รู้ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ กําจัดสาเหตุแห่งทุกข์ ด้วยปัญญา กระบวนการเสริมสร้างความสุข เพียงแค่เราคิดดี ทําดี มีชีวิตอยู่กับปัจจุบันให้ดี และมีความหวังมี กําลังใจอยู่เสมอ ความสุขนั้นช่อนอยู่ที่ตัวา หากเราต้องการความสุขก็ต้องมุ่งหน้าเข้าหาตัวตนภายในของเรา เปรียบเสมือนการคันหาต้นธารของความปีติ ยินดี ความสงบ และความสุขไม่มีวันสิ้นสุด





 





Abstract





individuals may have different levels of ultimate goals in life. But whateveryone sets and wants is happiness. In Buddhism, happiness is divided into twocategonies, each category is of two kinds: the category 1 is composed of 1) thephysical happiness (Kayika Sukkha) is the happiness that arises from receiving comfortwith basic factors or being healthy, 2) the metal happiness (Cetasika Sukha) is thehappiness that arises from peace and joy, and the category 2 is composed of 1) thematerial based happiness (Samissasukha) is happiness based on bait or Sensualpleasure, 2) the non-material based happiness (Niramissa Sukkha) is a happinessithout bait being peaceful and calm in mind. All human beings toess do everything they can such as both in occupations, working,es well as in everyday life. The pursuit of happiness is the human nwill not be satisfied until we reach complete happiness, that is, a touch of thepeace, love, wisdom, and cheerfulness.


The elderly persons live in a lot of changing society in terms of present life-living, economy. They are mostly left alone. They personally are faced manyproblems, such as the physical condition that deteriorates over time, the mental andemotional term cause them feeling lonely and depressed, I the social term, wherethe elderly persons were reduced to their roles and values. That makes a feeling ofbeing useless worthless. The Buddhist means to happily living of the elderly personshaving created knowledge and understood themselves empirically is to apply the FourNoble Truths practiced in their lives; to know suffering, the cause of suffering, toeliminate the cause of suffering with wisdom. The process of enhancing happiness isve just think good, do good, live well in the preset together withencouragement. The happiness does exist in us. If the happiness is needed, then, weinto internal our self like the search for the source of joy,peace and neending happiness.





 




Article Details

บท
บทความวิชาการ