ประสิทธิผลของโปรแกรมวิทยุเพื่อส่งเสริมการคุมกำเนิดของหญิงไทใหญ่วัยเจริญพันธุ์ ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

ก๋องทิพย์ [Kaungtip]
รพีพร เทียนจันทร์
สีวลี รัตนปัญญา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


                 บทความวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1.เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมวิทยุเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดของหญิงไทใหญ่วัยเจริญพันธุ์ 2.เพื่อศึกษาความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมวิทยุเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดของหญิงไทใหญ่วัยเจริญพันธุ์ 3.เพื่อศึกษาทัศนคติก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมวิทยุเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดของหญิงไทยใหญ่วัยเจริญพันธุ์  และ 4.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการคุมกำเนิดก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมวิทยุเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดของหญิงไทยใหญ่วัยเจริญพันธุ์ เป็นงานวิจัยเชิงกึ่งทดลอง กลุ่มเป้าหมายคือ หญิงไทใหญ่วัยเจริญพันธุ์ อายุระหว่าง 15-49 ปี จำนวน 156 คน ผลการวิจับพบว่า โปรแกรมวิทยุมีประสิทธิภาพ เนื่องจากผลการทดสอบความรู้หลังเข้าร่วมโปรแกรม ( = 9.57, S.D. = 0.63) เพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าเรียน ( = 5.04,   S.D. = 0.94) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 รวมถึงผลการศึกษาด้านทัศนคติพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีทัศนคติที่ดีขึ้นหลังจากเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และผลการวิจัยยังพบว่าพฤติกรรมหลังเข้าร่วมโปรแกรมเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05


คำสำคัญ: โปรแกรมการสื่อสารสุขภาพทางวิทยุ, การคุมกำเนิด, หญิงไทใหญ่วัยเจริญพันธุ์


Abstract


          This study on the effectiveness of the radio program to promote contraception among Shan females of reproductive age in Mueang Chiang Mai district, Chiang Mai province had objectives that were to: 1. study the effectiveness of the radio program to promote contraception among Shan females of reproductive age, 2. study the contraceptive knowledge before and after joining the radio program to promote contraception of Shan females of reproductive age, 3. study the contraceptive attitudes before and after joining the radio program to promote contraception of Shan females of reproductive age, and 4. study the contraceptive behaviors before and after joining the radio program to promote contraception of Shan females of reproductive age. This study was quasi-experimental research and the sample group was 156 Shan females of reproductive age between 15-49 years old. The data were collected using a questionnaire, analyzed using descriptive statistics, and statistically tested using paired t-test. The results of this study showed that contraceptive knowledge of Shan females of reproductive age before and after joining the radio program presented statistically significant differences (= 5.04, S.D. = 0.94 and  = 9.57, S.D. = 0.63, p  0.001). The contraceptive attitudes of Shan females of reproductive age before and after joining the radio program presented statistically significant differences (= 2.52, S.D. = 0.77 and = 3.93, S.D. = 0.77, p  0.001). And the contraceptive behaviors of Shan females of reproductive age before and after joining the radio program presented statistically significant differences (= 2.45, S.D. = 0.66 and = 3.45, S.D. = 0.74, p  0.001).


Keywords:  Radio Program, Contraception, Shan Female of Reproductive Age

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Elizabeth E.U. (2002). Evaluation of theEffectiveness of radio advertisements of family planning programs. (Master’s thesis). Enugu: Caritas University.

Harkins, B. (2019), Thailand Migration Report 2019. United Nations Thematic Working Group on Migration in Thailand Bangkok, Thailand.

Jaehyun, A., Gary B., Mathew, B., Edwin, P., Robert, S., Manue,l P., Alexis, Z.,and Peng, L.(20 January 2022). Radio Communications on Family Planning: Case of West Africa. Retrieved August 1, 2022, from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC9028430/pdf/ijerph-19-04577.pdf

Nyakundi, R.B. , Kurgat, K. & Akwala, A. (2018). Vernacular radio programmes And family planning promotion among reproductive women in rural areas: a case of Nyamaiya ward, Kenya. IOSR Journal Of Humanities And Social Science. 23 (9), 87-98.

Nyamweg, G. (2009). An Evaluation of women’s perception on the use of radio in family Planning communication in Rural Kenya. (Master’s thesis). Nairobi: Nairobi University.

Shahidul, I. & Mahedi, H. (30 April 2016). Women Knowledge, Attitude, Approval of Family Planning and Contraceptive Use in Bangladesh. Retrieved August 1, 2022, from https://www.researchgate.net/publication/308888794_Women_Knowledge_Attitude_Approval_of_Family_Planning_and_Contraceptive_Use_in_Bangladesh

Thomas W., Kim M. Y., Lettenmaier C., Glass W., &Dibba Y. (1994). Radio Promotion of Family Planning in the Gambia. GUTTMACHER INSTITUTE,20(3), 96 - 100.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (1 มีนาคม 2563). รายงานประจำปี 2563 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์.สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2564, จาก https://rh.anamai.moph.go.th/web-upload/7_

ข่าวประชาสัมพันธ์สถานีวิทยุคลื่น FM 99 MHz และ FM 93.75 MHz. (2564). รายการแฮงใจหญิง.

ฐิตินันทน์ ผิวนิล. (2563). การพัฒนาแนวทางส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยม และหลักคุณธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทัศนัย ขันตยากรณ์, วรภัทร แสงแก้ว, มณีทิพย์ วีระรัตนมณี, ขนิษฐา บูรณพันศักดิ์, ชุติมา พันธุ, วรัญญา พิทักษ์เทพสมบัติ, และเรณู ชูนิล. (2557).ท้องไม่พร้อม: มีทางเลือกร้อยแปดพันเก้าวิธีหาทางออก. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: พี.เอส.ซัพพลาย

เบญจพร โคกแปะ, ดุษฎี อายุวัฒน์ และภาณุ สุพพัตกุล. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้เรื่องสิทธิการทำงานในกลุ่มทายาทรุ่นที่ 2 ของแรงงานข้ามชาติชาวเมียนในจังหวัดสมุทรสาคร.วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์. 10 (1). 117 - 130.

พัชรินทร์ ไชยบาล, อิชยา มอญแสง, และศิริพร แสงศรีจันทร์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อเกี่ยวกับการคุ่มกำเนิดกับพฤติกรรมการคุมกำเนิดของแรงงานข้ามชาติในจังหวัดภาคเหนือตอนบน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 34 (3), 97 – 103.

วิราวรรณ คล้ายหิรัญ, จิราภรณ์ อนุชา, และอัญญา ปลดเปลื้อง. (2560). การคุมกำเนิดของแรงงานข้ามชาติหญิงชาวเมียนมาร์เชื้อสายมอญ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์. 9 (1), 36 – 43.

ลลิตา พรหมปั้น. (2564). การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัดไทยในงานสร้างเสริมสุขภาพ. วารสารเวชสารแพทย์ทหารบก. 74 (3), 185-195.

สุสัณหา ยิ้มแย้ม.(2555). การเข้าถึงบริการสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้านอนามัยเจริญพันธุ์ ของแรงงานข้ามชาติสตรีไทใหญ่. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 42 (3), 68 - 81.