การพัฒนาและยกระดับผลผลิตภัณฑ์กระท้อนคลองน้อยเพื่อสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม กรณีศึกษาตำบลคลองน้อย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธา

Main Article Content

พุทธิพงค์ อินทร์จันทร์
วรินยุพา เต็มแต้ม
ณฐพร จันทบุตร
ชาลิสา ใจสบาย
ธัญญรัศม์ โมรา

บทคัดย่อ

พัฒนาและยกระดับผลผลิตภัณฑ์กระท้อนคลองน้อยเพื่อสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม ตำบลคล้องน้อย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษธานี เป็นยกระดับในแก่กระท้อนคลองน้อย ได้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและมากขึ้น ซึ่งชาวบ้านนำกระท้อนมาแปรรูปมาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น น้ำพริกกระท้อน เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้า OTOP ของตำบลค การพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ำพริกกระท้อน และการยืดอายุการเก็บน้ำพริกกระท้อน พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีคุณภาพ ด้วยการพาสเจอร์ไรส์เพื่อยืดอายุการเก็บ ทำให้ทางวิสาหกิจชุมชนได้มีความรู้ความเข้าใจการยกระดับผลผลิตภัณฑ์กระท้อนคลองน้อยเพื่อสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่มเพื่อให้กระท้อนมีมูลค่ามากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จตุพล ดวงกลาง. ( 2559). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การตลาดสินค้า หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กรณีศึกษาประเภทอาหารอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรี.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2551). ทฤษฎีการบริหารตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

ณัชชา เพชรพินิจ.(2562). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภณัณฑ์เพื่อยกมาตรฐานให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้น. แผนที่ตำบลคลองน้อย. (2559). สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2563, จาก https://www.ecitepage.com/map.php?provinceID_start=67&amphurID_start=884&

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2541). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: เพชรจรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.

สมบัติ กุสุมาวลี. (2558). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การของบริษัทในอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์, ที่ประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติในวันคล้ายวันสถาปนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2558, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สุดาดวง เรืองรุจิระ. (2538). นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา. กรุงเทพมหานคร: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.

สุปัญญา ไชยชาญ. (2543). การบริหารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พี.เอ.ลิฟวิ่ง.

องค์การบริหารส่วนตำบลคลองน้อย. (2562). กระท้อนคลองน้อย. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563.จาก WWW.KLONGNOI.GO.TH