พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ในระบอบประชาธิปไตยภายใต้การถกเถียงเชิงวิเคราะห์ตามแนวคิดของแม็ก สตัดท์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งหวังนำเสนอเนื้อหาเรื่องพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ในระบอบประชาธิปไตย ภายใต้การถกเถียงเชิงวิเคราะห์ตามแนวคิดของแม็ก สตัดท์ ซึ่งแนวคิดของแม็ก สตัดท์ ได้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ในระบอบประชาธิปไตยไว้ 3 ประการ ได้แก่ 1) ประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่ปกป้องสิทธิ เสรีภาพของบุคคล 2) สังคมประชาธิปไตยมีความสลับซับซ้อนในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมากกว่าสังคมเผด็จการ 3) กลุ่มผลประโยชน์เกิดและเติบโตในสังคมประชาธิปไตย เพราะรัฐบาลเป็นผู้กระจายผลประโยชน์แก่สังคม จากการถกเถียงเชิงวิเคราะห์นั้นได้ชี้ให้เห็นว่าแนวคิดของแม็ก สตัดท์ เป็นสังคมในระบอบประชาธิปไตยนั้นมีความสลับซับซ้อนมากกว่าสังคมเผด็จการ ซึ่งแนวคิดที่เห็นต่างจะเสนอว่าแนวคิดแบบรัฐเผด็จการมีการตัดสินใจและมีประสิทธิภาพในการจัดระเบียบในองค์กรที่เบ็ดเสร็จมากกว่าที่เป็นประชาธิปไตยแบบผลิบาน ด้วยเหตุนี้คุณลักษณะของระบอบประชาธิปไตยจึงก่อให้เกิดกลุ่มผลประโยชน์ที่หลากหลาย ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม จากสิทธิ เสรีภาพที่ระบอบการเมืองนี้เปิดโอกาสให้บุคคลได้แสดงออกถึงความคิดเห็นและความต้องการของตน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จักษ์ พันธ์ชูเพชร. (2551). การเมืองการปกครองไทยจากยุคสุโขทัยสู่สมัยทักษิณ. ปทุมธานี: มายด์ พับลิชชิ่ง.
จุมพล หนิมพานิช. (2545). กลุ่มผลประโยชน์กับการเมืองไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชมพู โกติรัมย์. (2551). จิตสำนึกทางสังคมปัจจัยหลักการพัฒนาประเทศ. วารสารสังคมพัฒนา, 36(1), 61-64.
บรรเจิด สิงคะเนติ และสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์. (2542). หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, 1(2), 40-70.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2544). รัฐบาลผสม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีไทย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2558). สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย. หน่วยผลิตสื่อสอนเสริม ศูนย์โสตทัศนศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มะลิ ทิพพ์ประจง. (2563). พรรคการเมืองกับระบอบประชาธิปไตย. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 3(1), 3-8.
วิทยา นภาศิริกุล และสุรพล ราชภัณฑารักษ์. (2539). พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วินิจ ผาเจริญ. (2565). พรรคการเมืองกลุ่มผลประโยชน์และการเลือกตั้ง. สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สานนท์ ด่านภักดี และคณะ. (2561). พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 7(2), 381-391.
สุขุม นวลสกุล. (2528). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุภาภรณ์ ธานี. (2553). กลยุทธ์การนำองค์การสู่ความเป็นเลิศของเทศบาลตำบลนาส่วง อำเภอเดชดุดม จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Almond, G.A., Powell, G.B. & Mundt, R. (1993). Comparative Politics: A Theoretical Framework. New York: Harper Collins College Publishers.
Duverger, M. (1972). Party Politics and Pressure Groups. Sheffield: Nelson’s University Paperback.
Ethridge, M. and Handelman, H. (2004). Politics in a Changing World. 3rded. Belmont CA.: Wadsworth.
Goodman, W. (1967). The Two-Party System in the United States. Toronto. D. Van Nostrand Company, Inc.
La Palombara J. & Weiner. M. Eds. (1966). Political Parties and Political Development. Princeton. NJ: Princeton University Press.
David, B. T. (1971). Governmental Process Political Interests and Public Opinion. New York: Alfred A. Knopf.
Woodton, G. (1978). Interest group. Englewood Cliffs: Prentice Hall.