บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

The role of school administrators in promoting classroom research among teachers in disability-specific schools, Group 4, under the Office of Special Education Administration.

ผู้แต่ง

  • ดำรงศักดิ์ ละอองเอก วิทยาลัยนครราชสีมา
  • วิมาน วรรณคำ วิทยาลัยนครราชสีมา

คำสำคัญ:

ครูผู้สอน, ผู้บริหารสถานศึกษา, โรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยใน ชั้นเรียนของครูผู้สอน  ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ  กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ  และ 2)บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน  ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ  กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่งและประสบการณ์ในตำแหน่งปัจจุบัน  กลุ่มตัวอย่างได้แก่  ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน  ในโรงเรียนเฉพาะความพิการกลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำนวน 159 คน จาก 5 โรงเรียน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามประเภทมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ

ผลการวิจัยพบว่า  1)  บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ  กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ  โดยในภาพรวมอยู่ในระดับ  มากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ บทบาทด้านการเป็นผู้นำและบทบาทด้านการส่งเสริมสนับสนุนและการบริหารจัดการ  ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด  คือ  บทบาทด้านการพัฒนานักวิจัยและบทบาทด้านการจูงใจ สร้างขวัญและกำลังใจ และ 2) แนวทางเสริมสร้างบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริม การวิจัยในชั้นเรียน  ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ  กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ  มีจำนวน 4 ด้าน รวม 30 รายการปฏิบัติ  ประกอบด้วย  ด้านการเป็นผู้นำ จำนวน  8  รายการปฏิบัติด้านการส่งเสริมสนับสนุน  และบริหารจัดการ  จำนวน  7  รายการปฏิบัติ  ด้านการพัฒนานักวิจัย  จำนวน  7  รายการปฏิบัติด้านการจูงใจ   สร้างขวัญและกำลังใจ  จำนวน  8  รายการวิเคราะห์บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน  ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน  ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ  กลุ่ม  4  ทั้งโดยภาพรวม  รายด้านและรายข้อโดยหาค่าเฉลี่ย  ( )  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)  แล้วนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์  (บุญชม  ศรีสะอาด,  2560)  ดังนี้

                           ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด

                           ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก

                           ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง

                           ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย

                           ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ปฏิบัติโดยทุกด้านมีรายการปฏิบัติที่สำคัญ  คือ  หน่วยงานต้นสังกัด  สถานศึกษาต้องสร้าง ความตระหนักให้ผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน  และผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างความตระหนักในตนเองถึงความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน

 

The purposes of this research are to 1) study the role of educational institution administrators in promoting research in Teacher's class   in disability-specific schools, Group 4, Office of Special Education Administration, and 2) the role of school administrators in promoting research in teachers' classrooms.   In the disability-specific school, Group 4, Special Education Administration Office Classified by position and experience in the current position   Sample groups include:   Educational institution administrators and teachers   In a group 4 disability-specific school under the Office of Special Education Administration, there were 159 students from 5 schools. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire.

The results of the research found that 1) the role of school administrators in promoting classroom research among teachers In the disability-specific school, Group 4, Special Education Administration Office   Overall, it is at the level.   and when considering each area, it was found that the areas with the highest averages were leadership roles and promotion and management roles.   The areas with the lowest averages were the role of researcher development and the role of motivation. Build morale and encouragement and 2) guidelines for strengthening the role of school administrators in promoting Classroom research   In the Disability Specialized School, Group 4, Office of Special Education Administration, there are 4 areas, a total of 30 practice items, consisting of leadership, 8 practice items on promotion and support.   and manage 7 practice items   In terms of researcher development, there are 7 motivational practice items.    Building morale and encouragement, 8 items analyzing the role of school administrators in promoting research in the classroom of teachers.   of educational institution administrators and teachers   In the disability-specific school, Group 4, both overall   Each aspect and item by finding the mean (X ̅ ) and standard deviation (S.D.) and then comparing with the criteria (Bunchom Srisa-at, 2017) as follows:

 An average of 4.51 - 5.00 means that there should be compliance at the highest level.

 An average of 3.51 – 4.50 means there should be a high level of practice.

      An average of 2.51 – 3.50 means that there should be a moderate level of practice.

 An average of 1.51 – 2.50 means there should be a low level of practice.

 An average of 1.00 – 1.50 means there is a minimum level of practice.

Practiced by every aspect, there are important action items, namely the primary agency.   Educational institutions must create Awareness among school administrators of the importance of research in the classroom.   And school administrators must create self-awareness of the importance of research in the classroom.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-29