วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc <p><strong>ประเภทของผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสาร<br /></strong>1) บทความวิจัย (Research Article) เป็นบทความที่นำเสนอการค้นคว้าวิจัย เกี่ยวกับพุทธศาสนา บริหารการศึกษา ปรัชญา จิตวิทยา การพัฒนาชุมชม การพัฒนาสังคม นิติศาสตร์ การศึกษาเชิงประยุกต์ รวมถึงสหวิทยาการอื่นๆ<br />2) บทความวิชาการ (Academic Article) เป็นบทความวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเสนอแนวคิดใหม่</p> <p><strong>กำหนดออกเผยแพร่วารสาร </strong>กำหนดออกวารสารปีละ 6 ฉบับ เผยแพร่ 2 เดือนต่อ ฉบับ <br />ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ ฉบับที่ 2 เดือน มีนาคม - เมษายน<br />ฉบับที่ 3 เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ฉบับที่ 4 เดือน กรกฎาคม - สิงหาคม<br />ฉบับที่ 5 เดือน กันยายน - ตุลาคม ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม<br />(วารสารนิตยสารเสียงธรรมจากมหายาน เริ่มเผยแพร่ออนไลน์ ตั้งแต่เมื่อ พ.ศ. 2559)</p> th-TH drsuriyasanginta@gmail.com (Dr.suriya sanginta) drsuriyasanginta@gmail.com (Dr.suriya sanginta) Sun, 29 Sep 2024 09:44:15 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 การจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคล ในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงเทพใต้ https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4265 <table width="570"> <tbody> <tr> <td> <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) ระดับการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา และ 4) ศึกษาการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา วิธีดำเนินการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดกรุงเทพมหานคร&nbsp; กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 58 แห่ง ประจำปีการศึกษา 2566 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงเทพใต้ ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางการประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 52 แห่ง&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า1) การจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมาก&nbsp; x̅&nbsp;&nbsp;= 4.31, S.D. = 0.72 2) ระดับการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก&nbsp; x̅&nbsp;= 4.31, S.D. = .73 3) การจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานบุคคลมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันและมีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งมีค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง .441 ถึง .528 และ 4) การจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร&nbsp; กลุ่มกรุงเทพใต้ ได้แก่ ด้านการสร้างองค์ความรู้ใหม่ และด้านการจัดเก็บองค์ความรู้ มีค่าสหสัมพันธ์พหุคูณของ ตัวแปรเท่ากับ .544 ค่าอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 30.70 ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการพยากรณ์เท่ากับ .028 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> </td> </tr> </tbody> </table> <p>&nbsp;</p> ปวีณา พลพาลสังข์; ธดา สิทธิ์ธาดา Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4265 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารกับประสิทธิผล ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4522 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก 2) ศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครู จำนวน 205 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามประเภทมาตรประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 และตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.94 และตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>สภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวม มีการปฏิบัติอยู่ในระดับ มาก ซึ่งรายการปฏิบัติที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผนงานวิชาการ รองลงมา คือ ด้านการจัดคนเข้าทำงานวิชาการ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการจัดองค์การสนับสนุนงานวิชาการ</li> <li>ประสิทธิผลของสถานศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีประสิทธิผลสูงสุด คือ ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาภายในสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านความสามารถในการพัฒนาสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์</li> <li>สภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวมมีความสัมพันธ์ กันในทางบวกอยู่ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05</li> </ol> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p> The objectives of this research are to study 1) study the academic administration conditions of educational institution administrators. Under the Phitsanulok Provincial Vocational Education Office 2) Study the effectiveness of educational institutions. Under the jurisdiction of the Vocational Education Office, Phitsanulok Province, and 3) study the relationship between the academic administration of administrators and the effectiveness of educational institutions. Under the jurisdiction of Phitsanulok Provincial Vocational Education Office The sample group used in the research was 205 teachers, which were obtained by random sampling method. Stratified model The research tool used is a 5-level rating scale questionnaire, divided into 3 parts: Part 1 is a questionnaire about the status of the respondents. It is a check list form with a confidence value of 0.97 and part 2 is a questionnaire regarding the condition of academic administration of educational institution administrators. It is a rating scale with a confidence value of 0.94 and part 3 is a questionnaire about the effectiveness of educational institutions. It has the characteristics of a rating scale (Rating scale), a statistic that uses data analysis. Including the average standard deviation and the Pearson correlation coefficient.</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Overall condition of academic administration of educational institution administrators Practices were at a high level. The practice item with the highest average was academic planning, followed by staffing for academic work. And the aspect with the lowest average is the aspect of organization to support academic work.</li> <li>The overall effectiveness of the educational institution is at a high level. The most effective aspect is the ability to solve problems within the educational institution, followed by the ability to develop the educational institution. And the aspect with the lowest average value is the desired characteristics aspect.</li> <li>Condition of academic administration of educational institution administrators and the effectiveness of the educational institution. Under the jurisdiction of Phitsanulok Provincial Vocational Education Office Overall, there is a relationship in a positive way is at a significantly high level Statistically at the .05 level</li> </ol> พิมพ์ใจ คณารูป; จรูญ บุญธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4522 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4228 <p><strong>บทคัดย่อ </strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 และ 2) เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน และ 3) ศึกษาหาแนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 269 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test)</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li>ระดับการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>การเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมแตกต่างกัน และจำแนกตามประสบการณ์ทำงาน โดยภาพรวมแตกต่างกัน</li> <li>แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน กลุ่มโรงเรียนในอำเภอประโคนชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ประกอบด้วย 1) ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ควรสนับสนุนแหล่งความรู้และสารสนเทศเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ 2) ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ควรมีแผนจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ 3) ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ควรมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดจิตอาสา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 4) ด้านพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ควรมีการจัดการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ</li> </ol> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> การบริหาร, สถานศึกษา, หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง</p> <p><strong>Abstract </strong></p> <p>The purposes of this research are to 1) study the level of school administration according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools. Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Areas 2 and 2) Compare the administration of educational institutions according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools. Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, classified according to educational level and work experience, and 3) study and find guidelines for school administration according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools. Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, the sample groups used in the research were administrators and teachers in the school. Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, 269 people determined the sample size. Using Krejci and Morgan's tables. The research instrument was a questionnaire. The 5-level rating scale had a consistency index of 1.00 and a confidence value of 0.98 for the entire questionnaire and a semi-structured interview. Statistics used in data analysis include percentage, mean, standard deviation. and t-test</p> <p> The research results found that</p> <ol> <li>Level of administration of educational institutions according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, the overall level is at a high level.</li> <li>Comparison of school administration according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, classified by educational level. Overall different and classified according to work experience Overall different.</li> <li>Guidelines for school administration according to the philosophy of Sufficiency Economy in schools Group of schools in Prakhonchai District Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 2, consisting of 1) educational institution management Sources of knowledge and information regarding the philosophy of Sufficiency Economy should be supported adequately for personnel and related parties. 2) curriculum and learning activities. There should be a learning plan that integrates the philosophy of Sufficiency Economy. in various learning groups according to learning standards. 3) organizing student development activities There should be activities to encourage and encourage students to develop volunteerism. and participate in activities for society and the public benefit. 4) Personnel development of educational institutions There should be meetings, training, seminars, study visits to various learning resources.</li> </ol> <p><strong>Keywords</strong><strong> : </strong>Administration, Educational institution, Philosophy of sufficiency economy</p> วสันต์ สุขสูงเนิน; ภัทรฤทัย ลุนสำโรง Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4228 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4516 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เลย เขต 3 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียน และ 4) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เลย เขต 3 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครู จำนวน 768 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จำนวน 302 คน ซึ่งได้มาจากการเทียบตารางของเครจซี่และมอร์แกน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยการบริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยการบริหารโดยรวมมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (rxy = 874) ซึ่งมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน และมีความสัมพันธ์ ทางบวกในระดับมากที่สุด</p> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong> ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิผลของโรงเรียน, ประถมศึกษา</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The objectives of this research are 1) to study the administrative factors of schools under the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3, 2) to study the effectiveness of the school, 3) to study the relationship between administrative factors and school effectiveness, and 4. ) to study administrative factors that affect the effectiveness of schools under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3. The population used in this study was 768 teachers. The sample size was 302 people, which was obtained from comparison. Krejci and Morgan's tables Then use a simple random method. The instrument used to collect data was a rating scale questionnaire. The reliability of the questionnaire is .96. Statistics used in data analysis include frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. and the Pearson correlation coefficient.</p> <p> The results of the study found that 1) the administrative factors under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province had an overall average at a high level. 2) the effectiveness of educational institutions under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province had an overall average at a high level. 3) Overall administrative factors were significantly related to the effectiveness of educational institutions under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province at a statistical level of .05, with a correlation coefficient (rxy = 874) that was related in the same direction and had a positive relationship at the highest level.</p> จินตนา สวยขุนทด; สุเทพ ตระหง่าน Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4516 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4282 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 และ 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 <br />กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จำนวน 92 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายวิชาการและครูผู้สอน รวมทั้งสิ้น 368 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ระดับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันและมีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งมีค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง .805 ถึง .894 และ 4) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา<br />ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี <br />เขต 2 ได้แก่ ด้านการสร้างองค์กรแห่งนวัตกรรม ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง และด้านการบริหารความเสี่ยง มีค่าสหสัมพันธ์พหุคูณของตัวแปรเท่ากับ .914 ค่าอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 83.50 ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการพยากรณ์เท่ากับ .193 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถสร้างสมการพยากรณ์<br />ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน คือ</p> <p> = 0.687 + 0.540X<sub>4 </sub>+ 0.273X<sub>2 </sub>+ 0.186X<sub>1 </sub>+ 0.140X<sub>5</sub></p> <p> = 0.629Z<sub>4 </sub>+ 0.278Z<sub>2 </sub>+ 0.218Z<sub>1 </sub>+ 0.173Z<sub>5</sub></p> <p>The purposes of this research were 1) to study the innovative leadership level of educational institution administrators in Prachinburi Educational Service Area Office 2 2) to study the academic administration level of educational institutions in Prachinburi Educational Service Area Office 2 3) to study relationships Between the innovative leadership of school administrators and the academic administration of educational institutions in Prachinburi Educational Service Area Office 2 and 4) to study innovative leadership of educational institution administrators that affect the academic administration of the educational institution in Prachinburi Educational Service Area Office 2. The sample of this study were 92 schools in Prachinburi Educational Service Area Office 2. The respondents were school administrators, head of academic administration and teacher subdivision total 368 persons. The research instruments were questionnaires. The statistic used for analyzing were the percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation and stepwise multiple regression analysis. The research found that 1) the level of innovative leadership of educational institution administrators in Prachinburi Educational Service Area Office 2 were highest in overall. 2) Academic administration level of educational institutions in Prachinburi Educational Service Area Office 2 overall it is at the highest level. 3) Innovative leadership of school administrators affecting school academic administration in Prachinburi Educational Service Area Office 2 had a correlation in the same direction and there is a positive correlation statistically significant at the 0.01 level with a correlation between .805 and .894 . And 4 ) Innovative leadership of school administrators affecting school academic administration in Prachinburi Educational Service Area Office 2 were transformational vision, teamwork, innovative organizational building and risk management the multiple correlation coefficient of standard variable and predictive variable was .914, the prediction power level of 83.50 %, and the predictive error was .193, had significant at .05 levels. The regression equations in raw scores and standard score were</p> <p> = 0.687 + 0.540X<sub>4</sub> + 0.273X<sub>2</sub> + 0.186X<sub>1</sub> + 0.140X<sub>5</sub></p> <p> = 0.629Z<sub>4</sub> + 0.278Z<sub>2</sub> + 0.218Z<sub>1</sub> + 0.173Z<sub>5</sub></p> ปกีร์ญา กองคำ, ธดา สิทธิ์ธาดา Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4282 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 รูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4544 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม วิธีดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม จากการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน และการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีแนว ปฏิบัติที่ดี จำนวน 3 โรงเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 3) การประเมินรูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัย ที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 100 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <p> รูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อ พัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยการ บริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 การจัด ประสบการณ์การเรียนรู้โดยบูรณาการแนวคิดพหุปัญญาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม และ องค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิผลการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม และผลการประเมินความ เหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purpose of this research is to develop a management model for the early childhood curriculum organized by Learning experiences in educational institutions to develop students holistically the research method consists of 3 steps as follows: 1) Studying the components and management guidelines of the early childhood curriculum that provides experiences. Learning in educational institutions to develop students holistically from the analysis of relevant research documents, interviews with 7 experts and interviews with administrators of 3 schools with good practices by selecting purposively. and analyze data by content analysis. 2) Creation and examination of an early childhood curriculum administration model that organizes learning experiences in educational institutions to develop students holistically. The format was examined by 7 experts and the data was analyzed by content analysis. 3) Evaluation of the early childhood curriculum administration model. that organizes learning experiences in educational institutions to develop students holistically the sample group consisted of 100 school administrators and teachers using multi-stage random sampling. Data were analyzed using statistics, percentages, means, and standard deviations.</p> <p>The research results found that</p> <p> The early childhood curriculum management model that organizes learning experiences in educational institutions to develop students holistically consists of 4 components: Component 1: curriculum management factors; Component 2: curriculum management processes; Component 3: organizing learning experiences by integrating the concept of multiple intelligences to develop students holistically; and Component 4: effectiveness of holistic student development. The results of the evaluation of suitability and feasibility are at a high level and the benefits are at the highest level.</p> จุฑามาศ สุมนเมธี; คณิต สุขรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4544 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4229 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์<br />ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย <br />คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 314 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.60 - 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.79 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และค่าเอฟ (F-test)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน <br />โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามขนาดของสถานสึกษา โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางในการพัฒนาเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) การมีวิสัยทัศน์ 2) <br />การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 3) การมีความยืดหยุ่นและปรับตัว 4) การมีความคิดสร้างสรรค์ และ 5) การทำงานเป็นทีม</p> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>:</strong> ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์, ผู้บริหารสถานศึกษา</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The objectives of this research are 1) to study the creative leadership of educational institution administrators; Under the jurisdiction of the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat 2) to compare the creative leadership of school administrators. Under the jurisdiction of the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat, classified by educational level. Work experience and size of educational institutions 3) To study guidelines for developing creative leadership of educational institution administrators. Under the jurisdiction of the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat, the sample used in the research was 314 school administrators and teachers. The sample size was determined according to Krejci and Morgan's table. and stratified random sampling The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with a consistency index between 0.60 - 1.00 and a confidence value for the entire questionnaire equal to 0.79. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, and deviation. standard T-test and F-test</p> <p>The results of the research found that 1) the level of creative leadership of school administrators Under the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat is at the highest level. 2) Creative leadership of school administrators. Under the jurisdiction of the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat, classified by educational level. Work experience Overall and each aspect is not different. Classified according to the size of the educational institution Overall and each aspect is significantly different at the .05 level. <br />3) Guidelines for developing creative leadership of school administrators. Under the Chanthaburi Secondary Educational Service Area Office, Trat, it consists of 5 aspects: 1) having a vision, <br />2) considering individuality, 3) being flexible and adaptable, 4) having creativity, and 5) working as a team.</p> <p> </p> <p><strong>Keywords: </strong>leadership, Creative leadership, Educational institution administrators</p> โชติกานต์ แท่นทอง; กฤษฎา วัฒนศักดิ์ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4229 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4517 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน 2) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ ครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำนวน 248 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก</li> <li>การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก</li> </ol> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong> ภาวะผู้นำทางวิชาการ,การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong> </strong></p> <p><strong> </strong></p> <p><strong> </strong></p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research were to study 1) school administrators’ instruction leadership as perceived by the teachers; 2) the school’s learning organization as perceived by the teachers; 3) relationship between school administrators’ instruction leadership and the school’s learning organization as perceived by the teachers, in the school under the Loei Primary Educational Service Area Office 3. The sample used in this research consisted of 237 school teachers who worked in the schools under the Loei Primary Educational Service Area Office 3. Data were collected by questionnaires. Statistics used for data analysis included percentages, means, standard deviations, and Pearson Product Moment Correlation coefficient. The results of the research were as follows:</p> <p>The results of the study found that</p> <ol> <li>Academic leadership of educational institution administrators under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3 as a whole is at a high level.</li> <li>Being a learning organization of educational institutions Office affiliation Loei Primary Educational Service Area 3 according to teachers' opinions Overall, it is at a high level.</li> <li>There is a positive relationship between the academic leadership of educational institution administrators and being a learning organization in educational institutions under the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3.</li> </ol> ปรียาพร โพธิ์ศรี; จรูญ บุญธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4517 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4283 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน และความต้องการฝึกอบรม 2) พัฒนาหลักสูตรและทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม 3) นำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ และ 4) ประเมินหลักสูตรฝึกอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิธีดำเนินการวิจัยในลักษณะของการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จำนวน 69 คน และอาจารย์ประจำสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จำนวน 9 คน รวม 78 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรและการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวงชวลิตกุล ปีการศึกษา 2566 จำนวน 30 คน ระยะที่ 3 การใช้หลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาครู สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 3 และชั้นปีที่ 4 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยนครราชสีมา ปีการศึกษา 2566 จำนวน 27 คน และระยะที่ 4 การประเมินหลักสูตรฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักศึกษาครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 4 ระดับปริญญาตรี วิทยาลัยนครราชสีมา จำนวน 1 คน และ เด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ความต้องการฝึกอบรม แบบประเมินทักษะการจัดประสบการณ์เรียนรู้ แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ แบบประเมินความพึงพอใจ และ แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ประกอบด้วย ข้อมูลในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม และการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และความต้องการฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</li> <li>หลักสูตรฝึกอบรมประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม โครงสร้างของหลักสูตร กิจกรรมการฝึกอบรม สื่อการฝึกอบรม และการวัดและประเมินผล และความเหมาะสมของหลักสูตรฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>นักศึกษาครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม มีทักษะการจัดประสบการณ์เรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี มีความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี</li> </ol> <p>The research's objectives are as follows: 1) To study the basic information and training needs for enhancing creative thinking through experiential learning experiences. 2) Developing a curriculum and experimenting with the training curriculum for organizing learning experiences to enhance creative thinking. 3) Implementing the training curriculum for organizing learning experiences to enhance creative thinking. and 4) evaluating the training curriculum for organizing learning experiences to enhance creative thinking for student teachers majoring in early childhood education.The research method, known as research and development, comprises four phases: Phase 1: Basic Information Study and Training Needs Assessment. The sample group includes 69 student teachers majoring in early childhood education and 9 faculty members specializing in early childhood education, totaling 78 individuals.Phase 2: Curriculum Development and Training Curriculum Trial. The sample group consists of 30 undergraduate student teachers majoring in early childhood education in their third and fourth years from Wongchawalitkul University in the academic year 2023. Phase 3: Implementation of the Training Curriculum. The sample group consists of 27 undergraduate student teachers majoring in early childhood education, in their third and fourth years, from Nakhon Ratchasima College, academic year 2023.Phase 4: Evaluation of the Training Curriculum. The target groups include one fourth-year undergraduate student majoring in early childhood education from Nakhon Ratchasima College and 32 preschool children in the third year of kindergarten in the academic year 2023. The research tools used include questionnaires on opinions regarding learning experiences, questionnaires and interview forms for training needs, skill assessment forms for organizing learning experiences, tests to measure knowledge and understanding, satisfaction assessment forms, and creativity assessment forms for preschool children. Statistical analysis includes percentages, means, standard deviations, and t-tests.</p> <p>The research findings indicate that:</p> <ol> <li>The foundational information used for developing the training curriculum encompasses data on organizing learning experiences, curriculum development, fostering creativity, and overall training needs, all at the highest level.</li> <li>The training curriculum comprises six components: principles and rationale, training objectives, curriculum structure, training activities, training media, and measurement and evaluation. Overall, the suitability of the training curriculum is at a high level.</li> <li>Following the training, student teachers majoring in early childhood education demonstrated higher levels of knowledge and understanding compared to before the training. They exhibited proficient skills in organizing learning experiences and expressed high satisfaction with the overall training program. Moreover, the creativity of preschool children overall was at a commendable level.</li> </ol> ธนภรณ์ แซ่ลิ่ม; ทิพาพร สุจารี, ณัฏฐชัย จันทชุม , ปวริศ สารมะโน Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4283 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กับความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4547 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 (2) เพื่อศึกษาความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 234 คน เป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 27 คน และครูผู้สอน จำนวน 207 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า </p> <ol> <li>1. ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>2. ความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</li> </ol> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The objectives of this research are (1) to study the digital leadership of educational institution administrators; Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3 (2) to study the innovative organization of educational institutions. Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3 and (3) to study the relationship between the digital leadership of school administrators and the innovative organization of educational institutions. Under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the sample group includes educational institution administrators and teachers. Under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, academic year 2023, a total of 234 people are educational institution administrators and teachers. A total of 207 people were selected as a sample using stratified random sampling. The instrument used for data collection was a questionnaire with a 5-level rating scale. Statistics used for data analysis included frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Alpha coefficient and the Pearson correlation coefficient. </p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Digital leadership of educational institution administrators Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the overall level is at a high level.</li> <li>Being an innovative organization of educational institutions Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the overall level is at a high level.</li> <li>The relationship between the digital leadership of school administrators and the innovative organization of the school. Under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, overall there was a low level of positive relationship. Statistically significant at the .01 level.</li> </ol> ชัชสุดา อาจศักดี; สุเทพ ตระหง่าน Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4547 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำหลังวิกฤติโควิด-19 ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4232 <p><strong>บทคัดย่อ </strong></p> <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำหลังวิกฤติโควิด-19 ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำหลังวิกฤติ โควิด-19 ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่งและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำนวน 97 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ภาวะผู้นำหลังวิกฤติโควิด-19 ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านสมรรถนะในการทำงานเป็นทีม รองลงมา คือ ด้านกรอบความคิดในการทำงานกับด้านความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งค่าเฉลี่ยเท่ากัน และด้านความสามารถในการกำหนดเป้าหมายและวิสัยทัศน์ร่วมกัน ตามลำดับ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านความทันสมัย</li> <li>ภาวะผู้นำหลังวิกฤติโควิด-19 ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่ง โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความทันสมัยและด้านความเชื่อมั่นในตนเอง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน</li> </ol> <p> </p> <p> </p> <p><strong>Abstract </strong></p> <p>This research aims to 1) study the level of Leadership after the COVID-19 crisis of educational administrators disability specific school Group 4 under bureau of Special Education Administration. 2) comparing Leadership after the COVID-19 crisis of educational administrators disability specific school Group 4 under bureau of Special Education Administration. Classified by position and work experience. The sample group used in the research was 97 administrators in a educational administrators disability specific school Group 4 under bureau of Special Education Administration. The sample size was determined according to Krejci and Morgan's table. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with a consistency index between 0.67-1.00. and the reliability of the entire questionnaire was 0.97. Statistics used in data analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation. and t-test</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Leadership after the COVID-19 crisis of educational administrators disability specific school Group 4 under bureau of Special Education Administration. Overall and each aspect is at a high level. When considering each area, it was found that the area with the highest average was the ability to work as a team, followed by the work mindset and self confidence. which the average is the same and the ability to set common goals and visions, respectively. The aspect with the lowest average was modernity.</li> <li>Leadership after the COVID-19 crisis of educational administrators disability specific school Group 4 under bureau of Special Education Administration. Classified by position Overall, they are not different. But when considering each aspect, it was found that the modernity aspect and the self-confidence aspect They are significantly different at the .05 level and when classified according to work experience. Overall and each aspect is not different.</li> </ol> <p> </p> อารีย์ รักษาสุวรรณ; วิมาน วรรณคำ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4232 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4518 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 2) เปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน เพศ และอายุของผู้บริหารและครู กลุ่มตัวอย่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 236 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการของเซฟเฟ่ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1.บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</p> <ol start="2"> <li>บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน เพศ และอายุ โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</li> </ol> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา, การทำงานเป็นทีม, ครูในโรงเรียน</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research are to 1) study the role of school administrators in promoting teamwork among teachers in schools. Under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3 2) Compare the role of school administrators in promoting teamwork among teachers in schools. Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, classified by work experience, gender, and age of administrators and teachers. Sample group of 236 school administrators and teachers using simple random sampling. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with a confidence value of 0.95. Statistics used in data analysis were percentage, mean, and standard deviation. One-way analysis of variance and test the difference in pairwise means using Zeffe's method. at the statistical significance level .05</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>The role of educational institution administrators in promoting teamwork among teachers in schools Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the overall level is at a high level.</li> <li>The role of school administrators in promoting teamwork among teachers in schools Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, classified by work experience, gender, and age, overall and in each area, they are significantly different at the .05 level.</li> </ol> ฤทธิเกียรติ สิมารับ; จรูญ บุญธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4518 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4288 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 310 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60-1.00 และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.903 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) เปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยแบบรายคู่โดยใช้วิธีของ Scheffe’s test และการวิเคราะห์เนี้อหา (Content Analysis)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1) ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมาของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนมีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</p> <p>2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามตัวแปรตำแหน่ง และระดับการศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน แต่การจำแนกตามตัวแปรด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ .05</p> <p>3) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีวิสัยทัศน์เทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการสนับสนุนการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ด้านจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และด้านการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในด้านการบริหารงาน</p> <p>The objectives of this research are 1) to study the digital leadership level of educational institution administrators; Under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization 2) To compare the opinions of school administrators and teachers regarding the digital leadership of school administrators. Under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization 3) To study guidelines for developing digital leadership of educational institution administrators under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. The sample group used in the research included 310 school administrators and teachers under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with content validity ranging from 0.60-1.00 and reliability. of the questionnaire was 0.903. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test. and F-test comparing pairwise means using Scheffe's test and content analysis (Content Analysis).</p> <p> The research results found that</p> <p> 1) Digital leadership of educational institution administrators under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization of educational institution administrators. And teachers have opinions on the digital leadership of school administrators under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. Overall, it is at a high level.</p> <p> 2) Results of comparing opinions of educational institution administrators and teachers towards the digital leadership of educational institution administrators under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. Classified by position variable and education level Overall and each aspect is not different. But the classification according to the work experience variable is significantly different at .05.</p> <p> 3) Guidelines for developing digital leadership of educational institution administrators under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. There are 4 aspects: having a vision for digital technology. Supporting teaching and learning using digital technology Ethical aspects in the use of digital technology and supporting the use of digital technology in administration</p> ยุคนธร สมบัติมี; สุวิจักขณ์ มั่นสารนียธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4288 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาการบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล ในสถานศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4234 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับสภาพการดำเนินงานบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะของสภาพการดำเนินงานบริหารศูนย์บ่มเพาะ ตามหลักธรรมาภิบาล จำแนก ตามตำแหน่ง อายุ และประสบการณ์ และ 3) ศึกษาแนวทางพัฒนาดำเนินงานบริหารศูนย์บ่มเพาะ ตามหลักธรรมาภิบาล วิธีการดำเนินงานวิจัย จำแนกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพการดำเนินงานบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล และระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาภาครัฐ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ค่าความสดอคล้อง ค่าความเชื่อมั่น ใช้การสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีเจาะจง จำนวน 144 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลของสภาพการดำเนินงานบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า โดยรวมและรายด้าน มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะ จำแนกตามตำแหน่งการทำงาน อายุ และประสบการณ์ทำงาน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการพัฒนาการบริหารศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบ การอาชีวศึกษาของสถานศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล มี 6 แนวทาง ประกอบด้วย 1) การสนับสนุนของผู้บริหารงานและหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะ 2) การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและครูที่เกี่ยวข้อง 3) การต่อยอดธุรกิจเดิม สร้างแผนธุรกิจใหม่ และประเมินคุณภาพ 4) การทบทวน และปรับแผนธุรกิจ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 5) การพัฒนาธุรกิจศูนย์บ่มเพาะให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ โดยใช้หลักความรับผิดชอบ และ 6) การวิเคราะห์ ปรับกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจใหม่</p> <p> </p> <p> This research aims to : 1.Study the level of operational management of entrepreneurship incubation centers for vocational education entrepreneurs according to ethical principles. 2. Compare the opinions of school administrators and incubation center heads regarding the operation of entrepreneurship incubation centers according to ethical principles, categorized by position, age, and experience. 3. Study the development guidelines for operating entrepreneurship incubation centers according to ethical principles. The research methodology is divided into 2 phases: Phase 1 studies the current operation of entrepreneurship incubation centers for vocational education entrepreneurs according to ethical principles, and Phase 2 studies the development guidelines for operating entrepreneurship incubation centers for vocational education entrepreneurs according to ethical principles, particularly those under the jurisdiction of the state education office in the northeastern region. Sample size is determined using the Krejcie and Morgan's table. Simple random sampling method is employed with 144 respondents. Research tools include questionnaires and interviews. Statistical analysis includes percentages, means, and standard deviations.</p> <p> The research findings are as follows:</p> <ol> <li>The operation of entrepreneurship incubation centers for vocational education entrepreneurs under the state education office in the northeastern region, according to ethical principles, is found to be generally at a high level in all aspects.</li> <li>Results of comparing the opinions of school administrators and incubator heads. Classified by work position, age, and work experience. There are opinions at a high level. Overall and each aspect is not different.</li> <li>There are 6 development guidelines for operating entrepreneurship incubation centers for vocational education entrepreneurs according to ethical principles, including: 1) support from management and incubation center heads, 2) training and development of students and relevant teachers, 3) business expansion, new business plan creation, and quality assessment, 4) review and adjustment of business plans to align with the situation, 5) development of entrepreneurship incubation centers into learning hubs using the principle of responsibility, and 6) analysis and strategy adjustment to drive new business initiatives.</li> </ol> วิภาดา ดีดวงพันธ์; สุวิจักขณ์ มั่นสารนียธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4234 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4519 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 2) ศึกษาการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิชาการ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำนวน 149 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามด้านผู้บริหารกับการส่งเสริงการจัดการเรียนเชิงรุก Active Learning เท่ากับ 0.68 และด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสถานศึกษา เท่ากับ 0.51 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>1. ผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</li> <li>2. การส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</li> <li>3. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมการจัดการเรียนการรู้เชิงรุก Active Learning ของครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</li> </ol> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>: </strong>ความสัมพันธ์, ผู้บริหารสถานศึกษา, การจัดการเรียนการรู้เชิงรุก</p> <p> </p> <p> </p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The objectives of this research are to 1) study the relationship between school administrators and the promotion of active learning management for teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office 3 2) study learning management Active Learning of teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3 3) Study the relationship between school administrators and the promotion of active learning management of teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office. Study Loei Area 3. The sample group consisted of 149 school administrators, academic teachers under the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, which were obtained using the stratified sampling method. The tool used in the research was a questionnaire. The reliability of the questionnaire for administrators and promotion of Active Learning was 0.68 and for teachers in educational institutions was 0.51. Statistics used in data analysis include mean, standard deviation. and the Pearson correlation coefficient.</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Educational institution administrators promote active learning management for teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3, overall at the highest level.</li> <li>Promotion of active learning management for teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3, overall at the highest level.</li> <li>The relationship between school administrators and the promotion of Active Learning among teachers in the Loei Primary Educational Service Area Office, District 3, overall, is at a moderate level. Statistically significant at the .01 level.</li> </ol> อำพล แซ่ตั้ง; จรูญ บุญธรรม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4519 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4218 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 2) เปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) ศึกษาแนวทางในการส่งเสริม การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 จำนวน 331 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 และมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าเอฟ</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ระดับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 อยู่ในระดับ มาก</li> <li class="show">การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 จำแนกตาม ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show">ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนางานบริหารบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 คือผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความสำคัญ ด้านการพัฒนาบุคลากรเป็นอันดับแรก โดยส่งเสริมให้บุคลากรได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ ตามที่สนใจ โดยการเข้าร่วมการอบรม ศึกษาดูงาน จัดค่ายพัฒนา ทั้งเครือข่ายโรงเรียน และหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้มีเครือข่ายทางการศึกษาที่กว้างขวาง และนำความรู้มาพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการศึกษา และควรพัฒนาด้านการดำเนินการทางวินัย ผู้บริหารชี้แจงหลักเกณฑ์ด้านวินัยและการรักษาวินัยเพื่อเป็นความรู้ให้แก่บุคลากรอย่างชัดเจน และอาจมีการจัดอบรมทางด้านวินัยเพื่อเป็นการทบทวนบทบาทของครู รวมทั้งผู้บริหารควรมีการดำเนินการอย่างเด็ดขาดและเป็นธรรมกับบุคลากรทุกคน</li> </ol> ณัฐชยากร วีระสวัสดิ์; ภัทรฤทัย ลุนสำโรง Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4218 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดนครราชสีมา https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4359 <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จำแนกตามสถานภาพในการดำรงตำแหน่ง 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุขของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 210 คน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสัมภาษณ์ โดยการเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง จำนวน 5 คน โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ ค่าดัชนีความสอดคล้องมีคะแนนระหว่าง 1.00 มีค่าความความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.910 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์โดยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา แล้วสรุปบรรยายเป็นความเรียง</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข จำแนกตามสถานภาพในการดำรงตำแหน่ง พบว่า โดยภาพรวม ไม่แตกต่าง</li> <li>แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุขของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาควรมีการระดมทรัพยากรจากทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกำหนดแผนในการแก้ไข ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ เชาวฤทธิ์ ภูบัวเพชร (2562) ที่ได้กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและการวางแผน เป็นการร่วมกันในการแสดงความคิดเห็นทุกภาคส่วน การวิเคราะห์และการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาการกำหนดแนวทาง การดำเนินงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบ การใช้ทรัพยากร และกำหนดวิธีการติดตามและประเมินผล</li> </ol> <p>The purposes of this research were to 1) to study the role of school administrators in operating the White School Project. Free from drugs and vices. 2) compare the role of school administrators in operating the White School Project. Free from drugs and vices. Classified according to position holding status. 3) guidelines for developing the role of school administrators in operating the White School Project. Free from drugs and vices in educational institutions. The sample group included educational institution administrators and teachers under Nakhon Ratchasima Office of Learning Encouragement. there were 210 people.target group used in interviews by selecting 5 specific informants. The tool used is a 5-level questionnaire with a consistency index score between 1.00 and a confidence value of 0.910, and an interview form. Statistics used in data analysis include percentage, mean, standard deviation, and analysis by t-test. and content analysis Then summarize the lecture in an essay.</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>The role of educational institution administrators in the implementation of the White Educational Institutions Project Free from drugs and vices. it was found that the overall level was at a high level.</li> <li>The results of comparing the level of the role of school administrators in the implementation of the White School Project. Free from drugs and vices. Categorized according to position status, it was found that overall there was no difference.</li> <li>Guidelines for developing the role of educational institution administrators in the implementation of the White Educational Institutions Project Free from drugs and vices in educational institutions. it was found that educational institutions should mobilize resources from all sectors. To jointly formulate an action a plan for resolving. which was consistent with the concept of ​​Chaowarit Phubuaphet (2019) who said that Participation in policy formulation and planning It was a joint effort to express opinions from all sectors. Analysis and prioritization of problems in determining operational guidelines, duties, and responsibilities. resource usage and determine methods for monitoring and evaluation.</li> </ol> <p> </p> พิทักษ์ เกณฑ์ขุนทด; กานต์ เนตรกลาง Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4359 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4744 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาระดับการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาและการเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 335 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าเอฟ และระยะที่ 2 การศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสรุปผลการดําเนินงานของสถานศึกษา รองลงมาคือ ด้านการวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร ด้านการดำเนินการบริหารหลักสูตร ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล ด้านการ</li> </ol> <p> </p> <p>จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ตามลำดับ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการปรับปรุงพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร</p> <ol start="2"> <li>ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 จำแนกตาม ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงานและขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน</li> <li>แนวทางในการส่งเสริมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ 1) ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา 2) ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 3) ด้านการวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร 4) ด้านการดำเนินการบริหารหลักสูตร 5) ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล 6) ด้านการสรุปผลการดําเนินงานของสถานศึกษา และ7) ด้านการปรับปรุงพัฒนากระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร</li> </ol> พรหมินทร์ ศรีหมื่นไวย Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4744 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 การบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4235 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 2) เปรียบเทียบระดับการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 จำแนกตามตำแหน่งในการทำงาน ขนาดของสถานศึกษาและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครู 3) ศึกษาความสำคัญของความต้องการจำเป็นในการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 4) ศึกษาแนวทางการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารสถานศึกษาและครูของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 จำนวน 333 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบและแบบสัมภาษณ์ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ค่าเอฟ และวิเคราะห์หาค่าดัชนีการจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นโดยใช้ PNI modified</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ระดับการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่</li> </ol> <p>การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก</p> <ol start="2"> <li>ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีตำแหน่งต่างกัน มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน และปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน</li> <li>3. ความต้องการจำเป็น และแนวทางในการบริหารกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 มี 5 ด้าน คือ 1) ด้านการบริหารกิจการนักเรียน 2) ด้านการส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนมีวินัยคุณธรรม จริยธรรม 3) ด้านการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 4) ด้านการดำเนินการส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา 5) ด้านการประเมินการดำเนินงานกิจการนักเรียน </li> </ol> <p>The purposes of this research are to 1) study the level of student affairs administration of educational institutions under the Buriram Primary Educational Service Area Office, District 4. 2) compare the level of student affairs administration of educational institutions under the Primary Educational Service Area Office. Study Buriram, District 4, classified according to work position The size of the educational institution and the operational experience of the educational institution administrators and teachers. 3) Study the importance of the necessary needs in student affairs administration of educational institutions under the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 4. 4) Study the guidelines for Manage student affairs of educational institutions Under the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 4, sample group There were 333 educational institution administrators and teachers of schools under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 4. The research tools were questionnaires and interviews. The consistency index was obtained between 0.80-1.00 and the reliability of the entire questionnaire was 0.89. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation. T-test, F-value, and analysis to find the priority ranking index using PNI.</p> <p> The research results found that</p> <ol> <li>Level of student affairs administration of educational institutions under the area office</li> </ol> <p>Overall primary education in Buriram District 4 is at a high level.</p> <ol start="2"> <li> Educational institution administrators and teachers with different positions Have different work experiences and working in educational institutions of different sizes There are opinions regarding student affairs administration of educational institutions under the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 4. Overall, they are not different.</li> <li>Necessary needs and guidelines for managing student affairs of educational institutions Under the jurisdiction of the Buriram Primary Educational Service Area Office, Area 4, there are 5 areas: 1) student affairs administration, 2) promoting and developing students to have discipline, morality, and ethics, 3) operating the student care and support system, 4) operations. Promote democracy in educational institutions 5) Evaluation of student affairs operations</li> </ol> อลิสษา นพรัมย์; พจน์ เจริญสันเทียะ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4235 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4520 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA และ 2) นำเสนอความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA วิธีดำเนินการวิจัยมี 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สร้างการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยการศึกษาเอกสารและตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความตรงเชิงเนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้อง และขั้นตอนที่ 2 ประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA ประชากร คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 5 จำนวน 142 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.68 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>1. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCAของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 5 ที่สร้างขึ้นประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 84 รายการปฏิบัติ คือ องค์ประกอบที่ 1 การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล มี 18 รายการ ได้แก่ การวางแผน จำนวน 5 รายการ การดำเนินงานตามแผน จำนวน 5 รายการ การติดตามประเมินผล จำนวน 2 รายการ และการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 6 รายการ องค์ประกอบที่ 2 การคัดกรองนักเรียน มี 14 รายการ ได้แก่ การวางแผน จำนวน 3 รายการ การดำเนินงานตามแผน จำนวน 4 รายการ การติดตามประเมินผล จำนวน 3 รายการ และการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 4 รายการ องค์ประกอบที่ 3 การส่งเสริมนักเรียน มี 22 รายการ ได้แก่ การวางแผน จำนวน 4 รายการ การดำเนินงานตามแผน จำนวน 5 รายการ การติดตามประเมินผล จำนวน 7 รายการ และการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 6 รายการ องค์ประกอบที่ 4 การป้องกันและแก้ไขปัญหา มี 14 รายการ ได้แก่ การวางแผน จำนวน 4 รายการ การดำเนินงานตามแผน จำนวน 4 รายการ การติดตามประเมินผล จำนวน 3 รายการ และการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 3 รายการ องค์ประกอบที่ 5 การส่งต่อ มี 15 รายการ ได้แก่ การวางแผน จำนวน 3 รายการ การดำเนินงานตามแผน จำนวน 4 รายการ การติดตามประเมินผล จำนวน 4 รายการ และการปรับปรุงแก้ไข จำนวน 4 รายการ</li> <li>2. แนวทางการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA ทั้ง 5 องค์ประกอบ 84 รายการปฏิบัติ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง อยู่ในระดับมาก และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ 3.50</li> </ol> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> การบริหารจัดการ, ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน, โรงเรียนขยายโอกาส</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research are to 1) study factors affecting the management of student care and support systems according to the PDCA quality cycle and 2) present appropriateness. and the feasibility of managing the student care and support system according to the PDCA quality cycle. The research method has 2 steps: Step 1: Create the management of the student care and support system according to the PDCA quality cycle by studying documents and checking the accuracy. Content-wise by experts in the management of student support systems, a total of 5 people, obtained by means of purposive sample selection. The research instrument was a content validity questionnaire. Data were analyzed by analysis of the consistency index. and step 2: evaluate suitability and the possibility of managing the student care and support system according to the PDCA quality cycle. The population is educational institution administrators. and teachers who are responsible for the student care and support system of the school expanding educational opportunities Under the jurisdiction of the Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5, there were 142 people. The research instrument was a questionnaire with a confidence value of 0.68. Statistics used in data analysis included the mean and standard deviation.</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Management of the student care and support system according to the quality cycle The school's PDCA expands educational opportunities. Under the jurisdiction of the Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5, it was created consisting of 5 elements, 84 practice items, namely Component 1, knowing students individually, with 18 items, including planning, 5 items, operating according to the plan, 5 items, monitoring and evaluation. Results, 2 items, and improvements, 6 items. Component 2: Student screening, has 14 items, including planning, 3 items, implementation of plans, 4 items, monitoring and evaluation, 3 items, and improvement, 4 items. Components Third, student promotion has 22 items, including planning, 4 items, operating according to plan, 5 items, monitoring and evaluating, 7 items, and improvement, 6 items. Component 4, prevention and problem solving, has 14 items, including planning. Total of 4 items, Operation according to plan, total of 4 items, Monitoring and evaluation, total of 3 items, and improvement, total of 3 items. Component 5, Forwarding, has 15 items, including planning, total of 3 items, Operation according to plan, total of 4 items, Follow-up. Evaluation of 4 items and improvement of 4 items.</li> <li>Guidelines for managing the student care and support system according to the PDCA quality cycle, all 5 elements, 84 practice items. It is appropriate and feasible in actual practice. at a high level and higher than the specified threshold of 3.50</li> </ol> อิสระ โป้คอนสาร; คณิต สุขรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4520 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4226 <p>&nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 3 2) เปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหาร จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 237 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกนและได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และค่าเอฟ (F-test)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">การเปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำแนกตามตำแหน่ง จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน และจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show">แนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ด้านการบริหารงานวิชาการ ที่ควรดำเนินการสูงสุด คือ การจัดอบรมพัฒนาและให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีที่จําเป็นต่อการบริหารงานวิชาการ รองลงมาคือ การนําโปรแกรมประยุกต์มาใช้ในการบริหารจัดการในงานวิชาการ การนําเทคโนโลยี มาใช้ในฝ่ายงานวิชาการเพื่อจัดทำสารสนเทศในรูปแบบออนไลน์ เพื่อสะดวกในการใช้และการจัดเก็บข้อมูล และการใช้เทคโนโลยีในการติดต่อ สื่อสาร ประสานงาน ที่รวดเร็วและทันสมัย ตามลำดับ</li> </ol> สันติสุข เพ็ชรไพทูล; กฤษฎา วัฒนศักดิ์, วิรัลพัชร วงศ์วัฒน์เกษม Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4226 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4362 <p>การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนกตามสถานภาพการดำรงตำแหน่ง 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 338 คน จำแนกออกเป็นผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 23 คน ครูผู้สอนจำนวน 315 คน และกลุ่มเป้าหมายในการเก็บข้อมูล จำนวน 5 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา แล้วสรุปบรรยายเป็นความเรียง</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>2. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำแนกตามสถานภาพการดำรงตำแหน่ง พบว่า โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน</li> <li>3. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาต้องพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์เพื่อนำพาสถานศึกษาผ่านความท้าทายอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการนี้เริ่มต้นด้วยการประเมินและวิเคราะห์องค์การเพื่อทำความเข้าใจจุดแข็ง, จุดอ่อน, โอกาส, และอุปสรรค (SWOT analysis) ต่อไปคือการกำหนดทิศทางและวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนสำหรับสถานศึกษา, และการระบุประเด็นกลยุทธ์หลักที่จะช่วยบรรลุวิสัยทัศน์นั้น การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติต้องการการจัดสรรทรัพยากร และการมอบหมายงานอย่างมีระบบ และสุดท้ายการประเมินผลงานและการควบคุมกลยุทธ์ช่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนแผนตามความจำเป็น และรับมือกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ การดำเนินการอย่างมีกลยุทธ์ และมีระเบียบวินัยในทุกขั้นตอนนี้จะเป็นกุญแจสำคัญในการนำสถานศึกษาไปสู่ความสำเร็จในยุคที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน</li> </ol> <p>The purpose of this research were to 1) study the Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 2) compare the Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 and analyzed based on their position status and 3) study The Development Guidelines for Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2. The sample were school administrators and teachers under buriram primary educational service area office 2 in 2023. There are 338 persons consist of 23 school administrators and 315 teachers. Target groups used for data collection was 5 persons. The instrument used in this research was a questionnaire with a confidence level at 0.91. The statistical values used in the data analysis were frequency value, percentage, mean, standard deviation, t-test, and Interview form for content data analysis and then summarize the lecture in an essay</p> <p> The results show that</p> <ol> <li>The performance of the Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 was at a high level.</li> <li>The results of the comparison of the Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 that classified by position status, There is no difference overall.</li> <li>The Development Guidelines for Strategic Leadership of School Administrators after COVID 19 under Buriram Primary Educational Service Area Office 2 findings were school administrators must develop strategic leadership to effectively overcome challenges. This process begins with organizational assessment and analysis to understand strengths, Weaknesses, chance and obstacle (SWOT analysis). Next, Definition of direction and clear vision for school and Identifying the main strategic issues is crucial to achieving the envisioned goal. In order to put a strategy into practice, it is necessary to allocate resources and systematic assignment. Finally, Performance evaluation and strategy control allows for making necessary changes to plans and adapting to changing circumstances. Strategic execution and discipline in every process are the key to leading educational institutions towards success in an era of uncertainty.</li> </ol> วุฒิชัย แสนอุบล; กานต์ เนตรกลาง Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4362 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4783 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 โดยการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาระดับภาวะผู้นำดิจิทัลและการเปรียบเทียบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 331 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.82 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าเอฟ และระยะที่ 2 การศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 คือ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80-1.00 และใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงานและขนาดของสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show">แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1) ด้านวิสัยทัศน์ความเป็นผู้นำ 2) ด้านความคิดสร้างสรรค์ 3) ด้านการเอาใจใส่ 4) ด้านการทำงานร่วมกัน 5) ด้านการมีความรู้ความสามารถ</li> </ol> พจน์ เจริญสันเทียะ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4783 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4241 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยใน ชั้นเรียนของครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และ 2)บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำแนกตามตำแหน่งและประสบการณ์ในตำแหน่งปัจจุบัน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการกลุ่ม 4 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ จำนวน 159 คน จาก 5 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามประเภทมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยในภาพรวมอยู่ในระดับ มากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ บทบาทด้านการเป็นผู้นำและบทบาทด้านการส่งเสริมสนับสนุนและการบริหารจัดการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ บทบาทด้านการพัฒนานักวิจัยและบทบาทด้านการจูงใจ สร้างขวัญและกำลังใจ และ 2) แนวทางเสริมสร้างบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริม การวิจัยในชั้นเรียน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีจำนวน 4 ด้าน รวม 30 รายการปฏิบัติ ประกอบด้วย ด้านการเป็นผู้นำ จำนวน 8 รายการปฏิบัติด้านการส่งเสริมสนับสนุน และบริหารจัดการ จำนวน 7 รายการปฏิบัติ ด้านการพัฒนานักวิจัย จำนวน 7 รายการปฏิบัติด้านการจูงใจ สร้างขวัญและกำลังใจ จำนวน 8 รายการวิเคราะห์บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ในโรงเรียนเฉพาะความพิการ กลุ่ม 4 ทั้งโดยภาพรวม รายด้านและรายข้อโดยหาค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ (บุญชม ศรีสะอาด, 2560) ดังนี้</p> <p> ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p> ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก</p> <p> ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง</p> <p> ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ควรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย</p> <p> ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด</p> <p>ปฏิบัติโดยทุกด้านมีรายการปฏิบัติที่สำคัญ คือ หน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาต้องสร้าง ความตระหนักให้ผู้บริหารสถานศึกษาเห็นความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน และผู้บริหารสถานศึกษาต้องสร้างความตระหนักในตนเองถึงความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน</p> <p> </p> <p>The purposes of this research are to 1) study the role of educational institution administrators in promoting research in Teacher's class in disability-specific schools, Group 4, Office of Special Education Administration, and 2) the role of school administrators in promoting research in teachers' classrooms. In the disability-specific school, Group 4, Special Education Administration Office Classified by position and experience in the current position Sample groups include: Educational institution administrators and teachers In a group 4 disability-specific school under the Office of Special Education Administration, there were 159 students from 5 schools. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire.</p> <p>The results of the research found that 1) the role of school administrators in promoting classroom research among teachers In the disability-specific school, Group 4, Special Education Administration Office Overall, it is at the level. and when considering each area, it was found that the areas with the highest averages were leadership roles and promotion and management roles. The areas with the lowest averages were the role of researcher development and the role of motivation. Build morale and encouragement and 2) guidelines for strengthening the role of school administrators in promoting Classroom research In the Disability Specialized School, Group 4, Office of Special Education Administration, there are 4 areas, a total of 30 practice items, consisting of leadership, 8 practice items on promotion and support. and manage 7 practice items In terms of researcher development, there are 7 motivational practice items. Building morale and encouragement, 8 items analyzing the role of school administrators in promoting research in the classroom of teachers. of educational institution administrators and teachers In the disability-specific school, Group 4, both overall Each aspect and item by finding the mean (X ̅ ) and standard deviation (S.D.) and then comparing with the criteria (Bunchom Srisa-at, 2017) as follows:</p> <p> An average of 4.51 - 5.00 means that there should be compliance at the highest level.</p> <p> An average of 3.51 – 4.50 means there should be a high level of practice.</p> <p> An average of 2.51 – 3.50 means that there should be a moderate level of practice.</p> <p> An average of 1.51 – 2.50 means there should be a low level of practice.</p> <p> An average of 1.00 – 1.50 means there is a minimum level of practice.</p> <p>Practiced by every aspect, there are important action items, namely the primary agency. Educational institutions must create Awareness among school administrators of the importance of research in the classroom. And school administrators must create self-awareness of the importance of research in the classroom.</p> ดำรงศักดิ์ ละอองเอก; วิมาน วรรณคำ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4241 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4521 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ผู้วิจัยแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้าวิชาการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำนวน 174 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการจัดลำดับความสำคัญของต้องการจำเป็น (PNI_modified) ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า </p> <ol> <li>ความต้องการจำเป็นในการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด</li> <li>แนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนงานวิชาการ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3) ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4) ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ5) ด้านการวัดประเมินผลและพัฒนาคุณภาพการศึกษา</li> </ol> <p> </p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purpose of this research is to study the needs and guidelines for academic administration in order to raise the quality of education. Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the researcher divided the research into 2 steps: Step 1: Study of necessary needs in academic administration in order to raise the quality of education. The tool used in the research was a questionnaire. The sample group included educational institution administrators and academic head teachers. Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, there were 174 people. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and prioritization of needs. (PNI_modified) Step 2: Study of academic administration guidelines to improve educational quality. Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, the research instrument was an interview form. The informants included 5 experts. Data were analyzed by content analysis. Research results found that.</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Necessary needs in academic administration to raise the quality of education Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, overall and each aspect is at the highest level.</li> <li>Guidelines for academic administration to raise the quality of education Under the jurisdiction of the Loei Primary Educational Service Area Office, Area 3, it consists of 5 areas: 1) curriculum development and academic planning, 2) learning management to develop learner quality, 3) media development, innovation, and technology to develop quality. learners 4) promoting and supporting educational supervision to develop learner quality and 5) measuring, evaluating and developing educational quality</li> </ol> ภัทราธร บูรณวิชิต; สุเทพ ตระหง่าน Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4521 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4227 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา และขนาดสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้ บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 343 คน กำหนดขนาดโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน และได้โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 และ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และค่าเอฟ (F-test)</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน</li> <li>ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา และขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน</li> <li>แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการมีวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม 2) ด้านการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้แบบโลกยุคดิจิทัล 3) ด้านการปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างมืออาชีพโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 4) ด้านการปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 5) ด้านการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล</li> </ol> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม, ผู้บริหารสถานศึกษา</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>Abstract </strong></p> <p>The objective of this research was to 1) study Technology and Innovation Leadership of</p> <p>School Administrators under The Office of Secondary Educational Service Area Si Sa Ket Yasothon 2) to compare the technological and innovative leadership of school administrators under the Sisaket Secondary Education Area Office. Yasothon According to the opinions of personnel, classified by position. 3) study ways to develop Technology and Innovation Leadership of School Administrators under The Office of Secondary Educational Service Area Si Sa Ket Yasothon, The sample used in the research consisted of 343 school administrators and teachers. The size was determined using the Crejcie and Morgan tables. and obtained by stratified random sampling. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with a consistency index of 1.00. The reliability of the entire questionnaire was 0.96 and the interview form. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation. T-test and F-test</p> <p>The research results found that</p> <ol> <li>Technology and Innovation Leadership of School Administrators under The Office of</li> </ol> <p>Secondary Educational Service Area Si Sa Ket Yasothon , overall and in each aspect, is at a high level in every aspect.</p> <ol start="2"> <li>Comparative results of Technology and Innovation Leadership of School Administrators under The Office of Secondary Educational Service Area Si Sa Ket Yasothon Office are classified by position, education level and school size. It is no different</li> <li>Guidelines for developing Technology and Innovation Leadership of School Administrators</li> </ol> <p>under The Office of Secondary Educational Service Area Si Sa Ket Yasothon Consisting of 5 aspects: 1) having a vision for technology and innovation, 2) creating a learning culture in the digital age, 3) performing professional excellence using technology and innovation, 4) continuously improving It is a system using technology and innovation. 5) Citizenship in the digital age</p> <p><strong>Keywords</strong><strong> : </strong>Leadership, Leadership in technology and educational innovation, Educational institution administrators</p> กัญจน์ณัฏฐ์ อัครชาติ; กฤษฎา วัฒนศักดิ์ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4227 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4515 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 2) ศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 จำนวน 265 คน ผู้วิจัยหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางสำเร็จรูปของ Krejcie &amp; Morgan หลังจากนั้นผู้วิจัยได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบ่งเป็นชั้นภูมิ (Stratified Sampling) แบ่งออกเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 57 คน และครูผู้สอนจำนวน 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2) การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก 3) การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 มีความสัมพันธ์กันทางบวก</p> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> การบริหารจัดการ, ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน, สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 3 </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>This research aimed to 1) study the management of student care system in schools under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province 2) study the operation of student care system in schools under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province 3) study the relationship between management and operation of student care system in schools under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province. This research was a quantitative research. The samples used were school administrators and teachers of schools under the Office of the Primary Educational Service Area 3, Loei Province, totaling 265 people. The researcher found the sample size by opening the ready-made table of Krejcie &amp; Morgan. After that, the researcher randomly selected the sample group by stratified sampling, divided into 57 school administrators and 208 teachers. The research instrument was a 5-level rating scale questionnaire with a reliability of 0.99. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product moment correlation coefficient.</p> <p> The research results found that 1) the overall management of the student care system of schools under the Office of the Primary Education Area 3, Loei Province, was at a high level. 2) the overall management of the student care system of schools under the Office of the Primary Education Area 3, Loei Province, in all aspects, was at a high level. 3) the management of the student care system was positively related to the operation of the student care system of schools under the Office of the Primary Education Area 3, Loei Province, and they were positively related.</p> <p> </p> <p><strong>Keywords:</strong> Administration, Student Caring System, Loei Primary Education Service Area Office 3</p> กัญญาณิษฐ์ สายโสภา; สุเทพ ตระหง่าน Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4515 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 เกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4811 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การศึกษาวิจัยเรื่อง “เกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี” มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดสระบุรี 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญา 3) เพื่อบูรณาการเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เรื่องเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี ซึ่งดุษฎีนิพนธ์ ได้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิจากพระไตรปิฏก และอรรถกถา รวมทั้งเอกสารวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และได้สัมภาษณ์เชิงลึกเกษตรกร, นักวิชาการทางด้านการเกษตร, นักวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา, ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 19 รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาเพื่อที่จะหาข้อมูลเกี่ยวกับ หลักการทางศาสนาและปรัชญาเพื่อส่งเสริมเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดสระบุรี ประกอบไปด้วยปัญหาทางด้าน 1.ปัญหาทางดานแหลงน้ำ 2. ปัญหาทางดานที่ดินทำกิน 3.ปัญหาทางดานการผลิต 4.ปัญหาทางดานแหลงเงินทุน และ5. ปัญหาทางดานกลไกทางการตลาด 2. หลักพุทธปรัชญาที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี ประกอบไปด้วย 1) หลักสัมมาทิฏฐิ 2) หลักสัมมาอาชีวะ 3) หลักทิฏฐธรรมมิกัตถประโยชน์ 4) หลักสันโดษ และ 5) หลักวัฒนมุข 3. การทำเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี ควรมีรูปแบบเกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี ควรเป็นเกษตรที่ดำเนินชีวิตไปตามครรลองครองธรรมแห่งพระพุทธศาสนา มีการผสมผสาน ระหว่างคำสอนในทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ให้เข้ากับการดำเนินชีวิตของเกษตรกรในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเอง และประเทศชาติ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการรักษา อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามที่แนบแน่นไปกับวิถีเกษตรกรรม เพื่อความยั่งยืนสืบไป 4. องค์ความรู้ใหม่ เรื่อง “เกษตรวิถีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี” ในครั้งนี้ได้แก่ “ DMS Model” D= Dhamma คือ ธรรมะที่นำมาใช้เพื่อแก้ปัญหาในการทำเกษตร เรื่อง เกษตรวิถีตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทในจังหวัดสระบุรี ผู้วิจัยได้นำหลักธรรม เพื่อใช้แก้ปัญหาดังกล่าวประกอบไปด้วย 1) หลักสัมมาทิฏฐิ 2) หลักสัมมาอาชีวะ 3) หลักทิฏฐัมมิกัตถะประโยชน์&nbsp; 4) หลักสันโดษ&nbsp; 5) หลักวัฒนมุข M= Merge หมายถึง แนวทางการปฏิบัติในการเอาหลักธรรมะมาผสมผสาน กลมกลืน เพื่อแก้ปัญหาทางด้านต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวเกษตรกร S= Success หมายถึง การประสบผลสำเร็จ หรือบรรลุเป้าหมายสูงสุดตามที่เกษตรกรได้คาดหวัง หรือตั้งเป้าเอาไว้ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The research titled “Theravada Buddhist Philosophy-Based Agriculture in Saraburi Province” aimed to achieve the following objectives: 1) To study the situational problems faced by farmers in Saraburi Province. 2) To explore the relevant religious principles and philosophy. 3) To integrate Buddhist philosophical approaches into agricultural practices in Saraburi Province. 4) To present a new model of integrating religious and philosophical principles for agriculture in Saraburi Province.</p> <p>This qualitative study collected data from the Tipitaka, Commentaries, related documents, and in-depth interviews with 19 experts in agriculture, religion, philosophy, community leadership, and the general public. The data were analyzed and presented concerning agriculture in Saraburi Province.</p> <p>The study results indicated the following: 1. Problems of Farmers in Saraburi Province, the problems consist of 1) water management, 2) land issues, 3) production processes, 4) funding sources, 5) marketing challenges. 2. philosophical framework: Philosophy involves studying the world and life to find solutions to eternal truths through logical methods, evolving with time and context for human benefit. The educational aspects include: 1) Right view, 2) Right livelihood, 3) Virtues conducive to benefit, 4) Solitude, 5) Gateway to progress 3. Farming According to Theravada Buddhist Philosophy in Saraburi Province: Agriculture should align with Theravada Buddhist principles, incorporating Buddhist teachings to adapt to farmers' lifestyles in the digital era for maximum benefit to individuals and the nation. This approach aims to preserve cultural traditions closely linked to sustainable agricultural methods. 4. New Model - “DMS Model” The new knowledge derived from the study is encapsulated in the “DMS Model” D: Dhamma – Applying Buddhist teachings to solve farming problems, such as 1) Right view, 2) Right livelihood, 3) Virtues conducive to benefit 4) Solitude 5) Gateway to progress. M: Merge – Mixing and matching Dharma principles and guidelines for harmonious practice. S: Success – Achieving the ultimate goals set by the farmers. This study highlights the integration of Theravada Buddhist philosophy into agricultural practices, providing a framework for sustainable and culturally attuned farming in Saraburi Province.</p> <p><strong>Keywords</strong><strong>: </strong>Theravada Buddhist Philosophy, Saraburi Province</p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> วิธวินท์ ภาคแก้ว; พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม, ผศ.ดร. Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4811 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การสื่อสารองค์กรแบบบูรณาการผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4789 <p>การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารองค์กรแบบบูรณาการผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการกลยุทธ์การสื่อสารองค์กรแบบบูรณาการผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารองค์กร คณาจารย์ผู้รับผิดชอบการสื่อสารองค์กรของวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ผู้บริหารวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี กลุ่มละ 5 คน และนักเรียนนักศึกษาในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ปีการศึกษา 2566 จำนวน 320 คน&nbsp; เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">กลยุทธ์การสื่อสารองค์กรแบบบูรณาการผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประกอบด้วย กลยุทธ์ด้านผู้ส่งสาร กลยุทธ์ด้านเนื้อหาของสาร กลยุทธ์การกำหนดช่องทางในการสื่อสาร และกลยุทธ์ผู้รับสาร</li> <li class="show">อิทธิพลของสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประกอบด้วย กลยุทธ์ด้านผู้ส่งสาร (X<sub>1</sub>) กลยุทธ์ด้านเนื้อหาของสาร (X<sub>2</sub>) กลยุทธ์การกำหนดช่องทางในการสื่อสาร (X<sub>3</sub>) และกลยุทธ์ผู้รับสาร (X<sub>4</sub>) โดยสามารถเขียนสมการในรูปความสัมพันธ์แบบคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้</li> </ol> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Y’ = 0.184 + 0.620X<sub>1</sub> + 0.182X<sub>2&nbsp; &nbsp;</sub>+ 0.355X<sub>3 </sub>– 0.190X<sub>4</sub></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Z’ = 0.677X<sub>1</sub> + 0.186X<sub>2&nbsp; &nbsp;</sub>+ 0.371X<sub>3 </sub>– 0.218X<sub>4</sub></p> <ol start="3"> <li class="show">แนวทางการบริหารจัดการกลยุทธ์การสื่อสารองค์กรแบบบูรณาการผ่านสื่อโซเชียลมีเดียที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประกอบด้วย การจัดเก็บข้อมูลและผลงานผู้สอน ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน อย่างเป็นระบบ การพัฒนาสื่อโซเชียลมีเดียให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย การจัดเก็บข้อมูลผู้เรียนและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้อง และการติดตามผลการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย</li> </ol> ราชวงศ์ นวลอินทร์ Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4789 Sun, 29 Sep 2024 00:00:00 +0700 การพัฒนาสังคมในมิติแห่งมรรคมีองค์ 8 https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4711 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพอุปสรรคการพัฒนาสังคม 2) เพื่อพัฒนาสังคมในมิติแห่งมรรคมีองค์ 8 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการการพัฒนาสังคมในมิติแห่งมรรคมีองค์ 8 ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพปัญหา อุปสรรคการพัฒนาสังคม พบว่า เกิดจาก ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม การพัฒนาที่มุ่งเน้นด้านวัตถุ ทำให้การพัฒนาศีลธรรมเสื่อมถอยลง การเสพติดสื่อออนไลน์ที่มีความรุนแรง ทำให้เกิดการเรียนแบบพฤติกรรมที่ไม่ดี ทำให้ระบบการพัฒนาคนและสังคมเกิดปัญหา และสาเหตุหลักของปัญหาเหล่านั้น มาจากการไม่ได้รับอบรมฝึกฝนทางด้านจิตใจให้เข้มแข็ง 2. การพัฒนาสังคมในมิติแห่งมรรคมีองค์ 8 พบว่า เป็นกระบวนการที่จะทำมนุษย์ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข ด้วยการคิดช่วยเหลือเกื้อกูล คิดเสียสละ ความสุขส่วนตน เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น ไม่คิดเบียดเบียนผู้อื่น ด้วยการพูดด้วยเมตตา พูดด้วยกรุณา พูดด้วยปิยวาจา การทำด้วยใจ หรือที่เรียกว่าจิตอาสา ไม่คิดหวังผลตอบแทน การไม่มีความลำเอียง ไม่ทุจริต ไม่คดโกง การพยายามพัฒนาศักยภาพของตนให้สูงขึ้น เพื่อเป็นที่ยอมรับของผู้คนในสังคม การมีสติก่อนทำ ก่อนพูด และ มีความมั่นคง มุ่งมั่น แน่วแน่ กล้าเผชิญกับปัญหา 3. แนวทางการพัฒนาสังคมในมิติแห่งมรรคมีองค์ 8 คือ 1. การเข้าใจปัญหา เข้าใจหนทางแก้ไข เข้าใจกระบวนการจัดการ 2. การเข้าถึงการกระทำ สร้างความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง ร่วมมือกันทำงาน ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และ 3. ผลสัมฤทธิ์ เมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน เข้าถึงกัน สังคมเกิดความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน </p> <p>This research article has the following objectives: 1) to study the obstacles to social development 2) to develop society in the dimensions of the Eightfold Path 3) to present guidelines for social development in the dimensions of the Eightfold Path. The study results found that 1 Problems and obstacles to social development were caused by the physical, emotional, mental, and social aspects of development that focus on material aspects. causing moral development to deteriorate Addiction to violent online media causes bad behavior in learning This causes problems in the human and social development system. and the main causes of those problems come from not being trained and trained mentally to be strong. 2. Social development in the dimension of the Eightfold Path was found to be a process that will allow all humans to live together in society in peace. By thinking about helping and supporting, thinking about sacrificing one's happiness. for the benefit of others Don't think of hurting others. By speaking with kindness, speaking with kindness, speaking with kind words, and doing with the heart, also known as volunteer spirit. Don't expect anything in return. Not having bias, not being dishonest, not cheating, trying to develop one's potential to a higher level. To be accepted by people in society Be mindful before acting, before speaking, and have stability, determination, determination, and courage to face problems. 3. Guidelines for social development in the dimensions of the Eightfold Path are: 1. Understanding problems Understanding the solution Understanding the management process 2. Access to action Create cooperation from those involved work together we analyze problems and 3. Results: When each side understands each other and reaches out to each other, society is balanced, stable, and sustainable. </p> พระมหาพิพัฒน์ ปวฑฺฒโน (ท่าดี) Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4711 Fri, 23 Aug 2024 00:00:00 +0700