https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/issue/feedวารสารเสียงธรรมจากมหายาน2024-12-27T10:46:38+07:00Dr.suriya sangintadrsuriyasanginta@gmail.comOpen Journal Systems<p><strong>ประเภทของผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสาร<br /></strong>1) บทความวิจัย (Research Article) เป็นบทความที่นำเสนอการค้นคว้าวิจัย เกี่ยวกับพุทธศาสนา บริหารการศึกษา ปรัชญา จิตวิทยา การพัฒนาชุมชม การพัฒนาสังคม นิติศาสตร์ การศึกษาเชิงประยุกต์ รวมถึงสหวิทยาการอื่นๆ<br />2) บทความวิชาการ (Academic Article) เป็นบทความวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเสนอแนวคิดใหม่</p> <p><strong>กำหนดออกเผยแพร่วารสาร </strong>กำหนดออกวารสารปีละ 6 ฉบับ เผยแพร่ 2 เดือนต่อ ฉบับ <br />ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ ฉบับที่ 2 เดือน มีนาคม - เมษายน<br />ฉบับที่ 3 เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน ฉบับที่ 4 เดือน กรกฎาคม - สิงหาคม<br />ฉบับที่ 5 เดือน กันยายน - ตุลาคม ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม<br />(วารสารนิตยสารเสียงธรรมจากมหายาน เริ่มเผยแพร่ออนไลน์ ตั้งแต่เมื่อ พ.ศ. 2559)</p>https://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/5410ปัญหาการหย่าโดยความยินยอมกับการคุ้มครองสิทธิของบุตร2024-11-10T21:03:51+07:00นางสาวปิยะพร ศรีวิชาpsri79897@gmail.com<p>การหย่าโดยความยินยอมเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับคู่สมรสที่ต้องการยุติความสัมพันธ์อย่างรวดเร็วและไม่ยุ่งยาก แต่การคุ้มครองสิทธิของบุตรในกระบวนการนี้ต้องได้รับการพิจารณาอย่างละเอียดเพื่อให้เด็กได้รับการดูแลที่ดีที่สุด การคุ้มครองสิทธิของเด็กในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การดูแลสุขภาพ และการปกป้องจากการทารุณกรรม เป็นสิ่งที่จำเป็นในการสร้างสังคมที่ยุติธรรมและเสมอภาค การทำให้ระบบกฎหมายและการคุ้มครองสิทธิของเด็กมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้เด็กเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในอนาคต บทความนี้นำเสนอภาพรวมของปัญหาการหย่าร้างในสังคมไทยและความสำคัญของการคุ้มครองสิทธิของบุตรในกระบวนการหย่า แม้จะมีข้อมูลที่ครบถ้วน แต่ยังสามารถพัฒนาและเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของบทความได้</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4818การเปลี่ยนแปลงชุมชนด้วยวิถีพุทธ: การขับเคลื่อนหน่วยอบรมประชาชน2024-07-30T10:26:14+07:00พระครูสวัสดิ์กาญจโนภาส .narongsag@gmail.comพระครูปริยัติกาญจนกิจ .Watkhaojod@gmail.comแม่ชีกนกวรรณ ปรีดิ์เปรมWatkhaojod@gmail.comพระสมุห์นพดล อตฺถยุตฺโต (สุทนต์)noppadol.suthon@gmail.comพระมหาณรงค์ศักดิ์ สุทนฺโต (สุทนต์)Watkhaojod@gmail.com<p><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;">พระสงฆ์ในยุคปัจจุบันมีความสำคัญในการขับเคลื่อนหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) โดยเน้นการเผยแผ่หลักธรรมคำสอนและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนตามยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการอบรมประชาชนกลาง (อ.ป.ก.) การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลชุมชนและการระดมความคิดเห็นจากภาคีเครือข่ายช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนานวัตกรรมวิถีพุทธ เพื่อพัฒนาสุขภาพองค์รวมตามแนวพระพุทธศาสนาและสร้างชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน ในขณะเดียวกัน ทำให้การบริหารจัดการต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและใช้วิธีการใหม่ ๆ การพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นการร่วมมือระหว่างประชาชนและรัฐ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันและการสร้างเครือข่าย พระสงฆ์ต้องปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อให้สามารถทำประโยชน์แก่สังคมตามพุทธเจตนา การพัฒนาชุมชนวิถีพุทธ การนำแนวคิดเหล่านี้มาใช้จะช่วยสร้างชุมชนที่มีความมั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี และยั่งยืน หน่วยอบรมประชาชนถือเป็นกลไกสำคัญที่บูรณาการการทำงานของคณะสงฆ์ในระดับพื้นที่ ใกล้ชิดกับประชาชน และสามารถประยุกต์กิจกรรมของคณะสงฆ์ไปสู่สังคมโดยเน้นคุณค่าที่แท้จริงของพระพุทธศาสนา เช่น การพัฒนาศีล สมาธิ และปัญญา</span></span></p>2024-08-23T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4912ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 32024-08-10T20:29:36+07:00บรรพต สรวนรัมย์potsar2@gmail.comณัฐสิทธิ์ วราวิกสิตkrezexus@gmail.com<p> บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สร้างองค์ความรู้ และพัฒนารูปแบบการนิเทศการศึกษา ในระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษา และหน่วยงานระดับสำนักงานเขตพื้นที่ การนิเทศนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีเพื่อการช่วยเหลือ แนะนำของแต่ละหน่วยงาน ทำงานได้ดีขึ้น มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้สูงขึ้นทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่าง ๆ จนสามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ ซึ่งมีเป้าหมายหลักเดียวกัน คือ คุณภาพการศึกษาและตัวบ่งชี้คุณภาพที่สำคัญ คือ คุณภาพของนักเรียนหรือประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียน รูปแบบการนิเทศการศึกษา โดยใช้ POWER MODEL ได้ช่วยให้หน่วยงาน สถานศึกษา ได้มีรูปแบบการนิเทศที่เป็นที่น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ และสามารถนำไปใช้ได้ในสถานศึกษา หน่วยงานที่มีบริบทใกล้เคียงกันได้ จากนวัตกรรมนี้ทำให้หน่วยงานมีระบบการนิเทศภายในที่เข้มแข็ง มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรอันจะส่งผลให้คุณภาพของสถานศึกษา ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น และได้ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ให้มีคุณภาพถึงระดับที่พึงประสงค์อย่างรอบด้านทั้งนักเรียน บุคคล และหน่วยงาน ที่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลการประเมินด้านต่าง ๆ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเป็นไปตามเป้าหมายและสามารถตอบสนองผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4913รูปแบบการนิเทศการศึกษา โดยใช้ POWER MODEL ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 22024-08-10T20:31:01+07:00ประภัสสร บุญสมัยwowba017@gmail.comอัครวิทย์ โพธิ์ไทร wowba017@gmail.comวันเฉลิม ศรีแก้วน้ำใส wowba017@gmail.comกัญจนาพร บุตรศรีเมืองwowba017@gmail.com<p> บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สร้างองค์ความรู้ และพัฒนารูปแบบการนิเทศการศึกษา ในระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษา และหน่วยงานระดับสำนักงานเขตพื้นที่ การนิเทศนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีเพื่อการช่วยเหลือ แนะนำของแต่ละหน่วยงาน ทำงานได้ดีขึ้น มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้สูงขึ้นทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่าง ๆ จนสามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ ซึ่งมีเป้าหมายหลักเดียวกัน คือ คุณภาพการศึกษาและตัวบ่งชี้คุณภาพที่สำคัญ คือ คุณภาพของนักเรียนหรือประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักเรียน รูปแบบการนิเทศการศึกษา โดยใช้ POWER MODEL ได้ช่วยให้หน่วยงาน สถานศึกษา ได้มีรูปแบบการนิเทศที่เป็นที่น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ และสามารถนำไปใช้ได้ในสถานศึกษา หน่วยงานที่มีบริบทใกล้เคียงกันได้ จากนวัตกรรมนี้ทำให้หน่วยงานมีระบบการนิเทศภายในที่เข้มแข็ง มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรอันจะส่งผลให้คุณภาพของสถานศึกษา ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น และได้ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ให้มีคุณภาพถึงระดับที่พึงประสงค์อย่างรอบด้านทั้งนักเรียน บุคคล และหน่วยงาน ที่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม ความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้ผลการประเมินด้านต่าง ๆ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเป็นไปตามเป้าหมายและสามารถตอบสนองผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4656การประยุกต์ใช้หลักโพชฌงค์ 7 เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้าสำหรับคนวัยทำงาน ร่วมกับปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในโลกแห่งอนาคต2024-06-26T17:55:10+07:00พระครูสังฆกิจจารักษ์ วาทินวุฒิปรีชาชาญw.natthawud1950@gmail.comกฤติยา ถ้ำทองW.natthawud1950@gmail.comพระมหาศุภวัฒน์ บุญทองW.natthawud1950@gmail.comพระมหาศุภวัฒน์ บุญทองW.natthawud1950@gmail.comพระเจริญพงษ์ วิชัย W.natthawud1950@gmail.com<p>บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้โพชฌงค์ 7 เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าสำหรับวัยทำงานในโลกแห่งอนาคต พบว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยพัฒนาสติ สมาธิ และปัญญา เพื่อให้วัยทำงานรับรู้และเข้าใจถึงความสำคัญของการใช้โพชฌงค์ 7 เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้า ที่จะส่งผลกระทบอย่างมากกับการปฏิบัติงาน ภายใต้ความกดดัน ความเครียด การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต วิธีการติดต่อสื่อสาร จากที่เคยพบหน้า สนทนา ประสานงานเรื่องต่าง ๆ ในที่ทำงานบนโลกกายภาพ ไปพบกันในโลกอินเทอร์เน็ตกับทุกคน ทุกที่ ทั่วโลก และทุกเวลา ทำให้พฤติกรรมวัยทำงานหลายอย่างเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของวัยทำงาน บทความวิชาการนี้ ผู้เขียนจะนำเสนอ 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) วัยทำงาน ผู้เป็นกำลังแรงงาน ที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 60ปี ที่ต้องเปลี่ยนวิธีการทำงานให้สอดคล้องกับโลกแห่งอนาคต (2) ภาวะซึมเศร้า เป็นอารมณ์ของวัยทำงานที่จะเศร้า เป็นอารมณ์ทางลบ ส่งผลให้ไม่ค่อยมีความสุข โดยเป็นผลเสียต่อสติ สมาธิ และปัญญาของวัยทำงาน (3) โลกแห่งอนาคต เป็นโลกที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานของวัยทำงาน ที่ต้องนำเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มาใช้งานมากขึ้น และ (4) โพชฌงค์ 7 หลักธรรมที่มีส่วนช่วยวัยทำงานให้มีสติ ธรรมวิจยะ วิริยะ ปีติ ปัสสัทธิ สมาธิ และอุเบกขา ส่งเสริมให้วัยทำงานตระหนักถึงการเกิดปัญหาภาวะซึมเศร้า และเหตุที่จะป้องกันได้ องค์ความรู้จากบทความนี้ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อวัยทำงานที่เป็นกำลังหลักสำหรับการพัฒนาประเทศ การใช้โพชฌงค์ 7 เพื่อลดปัญหาภาวะซึมเศร้าสำหรับวัยทำงานในโลกแห่งอนาคต ยังประโยชน์แก่วัยทำงานเข้มแข็ง ด้วยสติ สมาธิ และปัญญา</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4820การใช้ภาษานัยผกผันจากเฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดิน2024-07-30T10:28:18+07:00ชนิดา แสงกล้าchanidarunchida@gmail.comวชิรารัตน์ นิรันดร์เตชาภัทร์Chanidarunchida@gmail.com<p>บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) วิเคราะห์ลักษณะของถ้อยคำนัยผกผัน ในภาษาบนสื่อเฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดิน 2) วิเคราะห์หน้าที่ของถ้อยคำนัยผกผัน ในภาษาบนสื่อเฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดิน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากเฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดินในช่วง เดือนมกราคม พ.ศ. 2565-เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2566 พบว่ามีการใช้ถ้อยคำนัยผกผันจากสื่อเฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดิน มีจำนวนทั้งสิ้น 527 ข้อความ โดยแบ่งเป็น 5 ลักษณะ ได้แก่ 1) กล่าวถ้อยคำที่สื่อความหมายขัดแย้งกันไว้คู่กัน 2) กล่าวแบบใช้ระดับภาษาไม่เหมาะสม 3) กล่าวถ้อยคำที่เป็นไปไม่ได้หรือไม่สมเหตุสมผล 4) กล่าวเน้นเกินจริงอย่าง และ 5) ถ้อยคำที่เป็นได้ทั้ง 2 ลักษณะ คือเป็นถ้อยคำลักษณะกล่าวถ้อยคำที่เป็นไปไม่ได้หรือไม่สมเหตุสมผลและกล่าวเน้นเกินจริงอย่างมาก หน้าที่ของถ้อยคำนัยผกผัน พบว่า การใช้ถ้อยคำนัยผกผันจากสื่อ เฟซบุ๊ก เพจคาราโอเกะชั้นใต้ดิน มีจำนวนทั้งสิ้น 527 ข้อความ โดยแบ่งเป็น 4 หน้าที่ ได้แก่ 1) แบบการประชดประชัน 2) แบบการสร้างอารมณ์ขัน 3) แบบการลดความเครียดหรือระบายความคับข้องใจ และ 4) ถ้อยคำที่ปรากฏว่าเป็นได้ทั้ง 2 หน้าที่</p> <p> </p> <p> </p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4925การดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ เชิงพุทธบูรณาการ2024-08-16T13:30:09+07:00วริญา ฮินาเซtong.nualchan@gmail.com<p>วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ เชิงพุทธบูรณาการ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลทางเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอโดยวิธีพรรณนา</p> <p> <strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <ol> <li>1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ พบว่า ปัจจัยทางด้านกฎหมายยังคงเป็นอุปสรรค เนื่องจากกฎหมายอาจมีช่องโหว่ของสัญญาเช่าที่จะทำให้ผู้เช่าเอาเปรียบผู้ประกอบการได้ รวมถึงปัญหาจากการเมืองและเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการก่อสร้าง ทำให้มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้น</li> <li>2. ผลการวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ พบว่า หลักสังคหวัตถุ สาราณียธรรม อันเป็นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน ทำให้เกิดการปรับตัวเข้าหากัน ทำให้เกิดความเข้าใจและความสามัคคี ซึ่งจะช่วยลดปัญหาความขัดแย้ง และเสริมสร้างสังคมสันติสุข</li> <li>แนวทางการดำเนินการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์กับชาวต่างประเทศ เชิงพุทธบูรณาการ พบว่า การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม การบูรณาการหลักธรรมเข้ากับการดำเนินการให้เช่า ได้แก่หลักสังคหวัตถุ 4 และหลักสารณียธรรม 6 อันเป็นหลักเพื่อการสงเคราะห์กันและกัน ส่งเสริมความสามัคคี เช่นการสื่อสารประชาสัมพันธ์ สามารถบูรณาการ เข้ากับหลักทางปิยวาจา/เมตตาวจีกรรม การปฎิสัมพันธ์กับบุคคลด้วยวาจาที่เหมาะสม การส่งเสริมความสามัคคีและปัญหาความขัดแย้งบูรณาการเข้ากับหลักสาราณียธรรมเพื่อสร้างความสามัคคี เสริมสร้างสังคมสันติสุข</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4916The Analytic Critiques on Animittacetosamādhi and Vipassanobhāsa in Quotable Principle of Pāli Canon, Borāṇ kammatthān along with Visuddhimagga Manuscript2024-08-12T20:31:19+07:00Phramaha Ariya Ariyajayo (Thiratinrat)ari_tirati92@yahoo.comPhramaha Narongsak Sudanto (Suthon)Narongsag@gmail.comPhrajaroenphong Dammatepo, Asst.Prof.Dr. ARIYAJAYO@GMAIL.comAsst. Prof. Dr. Banphot Tonthirawong ARIYAJAYO@GMAIL.comPhrasamu Noppadol Atthayutto (Suthon)ARIYAJAYO@GMAIL.com<p>The Analytical Critiques on <em>Animittacetosam</em><em>ādhi</em> and V<em>ipassanobha</em><em>̄sa</em> in Quotable Principle of <em>P</em><em>āli</em> Canon, <em>Bor</em><em>āṇ kammatthān</em> along with <em>Visuddhimagga </em>Manuscript through hermeneutics could not be consistent with the consequence of comprehending <em>Nimitta</em> and <em>Obh</em><em>āsa</em> from the primary source, namely Tipitaka which transformed into the <em>PhraPhuttharangsī Dṛṣadiiñāṇ</em> and the pre-reform <em>Therav</em><em>āda </em>meditation system (<em>Kammatth</em><em>ānMatchimā Baep Lamdap</em>) of Wat <em>R</em><em>ātchasitthārām.</em> In the ideological process, these studies used text hermeneutics to classify them according to the rationality of the <em>K</em><em>ārañupacāra </em> including direct and indirect explanation by relating to the comprehension of the vision of <em>Nimitta</em> and <em>Obh</em><em>āsa</em> within the mind, analytic trans-interpretation found within the principle of translating <em>P</em><em>āli</em> into Siamese language, and redefinition based on <em>P</em><em>āli</em>-gramma within the <em>P</em><em>āli</em> Canon (<em>P. tipi</em><em>ṭaka</em>), and discussing the process of commentary, <em>Visuddhimagga </em>and old meditation(<em>Bo</em><em>rāṇ kammatthān</em>). From the outcome, it was not necessary that most meditators had to be enlightened by the <em>“Animittacetosam</em><em>ādhi” </em>exclusively, and the <em>Obh</em><em>āsa</em> was not only introspection’s defilement. Therefore, the most monk was denominated to establish the inner form by the power of reciting mantra from intrinsic meditation and external unwavering meditation. It could be said that a person who had attained the form of meditative absorption could see the images inside.</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4683ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์2024-06-28T19:50:11+07:00ธนชัย สิงห์วงค์thanachaisingwong@gmail.comสรรฤดี ดีปู่sanrudee.d@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ 2) ศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 346 คน จำแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 20 คน และครู จำนวน 326 คน และใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 และประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ วิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความชำนาญเชิงวิชาชีพ</li> <li>ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การนิเทศการศึกษา ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา</li> <li>ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยภาพรวม มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อยู่ในระดับสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .883</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/5449การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO Model ร่วมกับหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 22024-11-29T18:05:32+07:00ชลทับ พิชัยกาลchonlathai8@gmail.comจิรัฐิพร ไทยงูเหลือมrose19297@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่าน และการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO Model<strong> </strong>ร่วมกับหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์ ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านและการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบ MACRO Model ร่วมกับหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์ ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70</p> <p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน โรงเรียนบ้านสารภี และโรงเรียนบ้านฝังงา ตำบลสะแกซำ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวนนักเรียน 18 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ได้มาโดยการเลือกแบบสุ่ม (Simple random sampling)</p> <p>เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบ MACRO Mode ร่วมกับหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์ และแบบทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียน</p> <p>ได้ค่าดัชนีความยากง่ายของแบบทดสอบอยู่ระหว่าง 0.25-0.75</p> <p>ค่าดัชนีอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ มีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป และหาค่าความเชื่อมั่น (Relibility)</p> <p>ทั้งฉบับเท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)</p> <p>และสถิติค่าที (t-test )</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราของนักเรียน</p> <p>ประถมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</p> <p>2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราของนักเรียน</p> <p>ประถมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</p> <p>3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราของนักเรียน</p> <p>ประถมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</p> <p>4.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราของนักเรียน</p> <p>ประถมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4743การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์2024-07-10T09:50:30+07:00นภาพร เบี้ยกระโทกa0947725579@gmail.comขนิษฐา ชมภูวิเศษ a0947725579@gmail.comนิภาดา จรัสเอี่ยมa0947725579@gmail.com<p> </p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ ระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนชุมชนบ้านนารากอรพิมพ์ ตำบลอรพิมพ์ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 13 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 8 แผน แผนละ 1 คาบ คาบเรียนละ 50 นาที และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เป็นแบบทดสอบอัตนัย (Subjective Test) จำนวน 8 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test</p> <p> <strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <p> 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนหลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p> 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p> The objectives of this research were to 1) compare the mathematical problem solving ability on the problem of linear equation systems in two variables of mathayomsuksa 3 students between before and after learning process by using mathematical modeling process 2) the mathematical problem solving ability on the problem of linear equation systems in two variables of mathayomsuksa 3 students by using mathematical modeling process with the threshold at 60% of total scores.</p> <p> The sample of this research was the matthayomsuksa 3 students who currently studying in the 2<sup>nd</sup> semester of the 2023 academic year at Chumchonbannarakorapim School, Orapim Sub-District, Khon Buri District, Nakhon Ratchasima, under the supervision of Nakhon Ratchasima</p> <p>Primary Educational Service Area Office 3. The purposive sampling approach was used to obtain a class which consist of 13 students. The research instruments were 1) a mathematics lesson plans of the problem of linear equation systems in two variables based on using mathematical modeling process of mathayomsuksa 3 students. It consists of 8 lesson plans, each plan designed for a period (50 minutes per period), and 2) a summative test of mathematical problem solving ability which consisting of 8 essay items. The statistics to analyze data were arithmetic mean, standard deviation, percentage, paired t-test and one-sample t-test.</p> <p><strong>The research found that:</strong></p> <p> 1) The mathematical problem solving ability of student after learning process by using</p> <p>mathematical modeling process was higher than before learning process with the statistically</p> <p>significance at the 0.05 level.</p> <p> 2) The mathematical problem solving ability of student after learning process by using</p> <p>mathematical modeling process was higher than the threshold at 60% of total scores with the statistically significance at the 0.05 level.</p> <p><strong>Keywords</strong><strong> : </strong>Problem solving, Linear equation systems in two variables, Mathematical problem solving, Mathematical modeling process.</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4536การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเกษตรก้าวไกล การจัดการดิน ด้วยเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสิ่ง สำหรับนักศึกษาทวิภาคี ไทย-อิสราเอล สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ2024-06-17T20:01:40+07:00ฐิรนันท์ สุริยะป้อkalanya.cmu@gmail.comทิพาพร สุจารี Tipaporn.s012501@gmail.comณัฏฐชัย จันทชุมNattachai@rmu.ac.th<p><strong>บทคัดย่อ </strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเกษตรก้าวไกล การจัดการดิน ด้วยเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสิ่ง สำหรับนักศึกษาทวิภาคี ไทย-อิสราเอล สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการและแนวทางการฝึกอบรมโดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 คน และศึกษาความต้องการฝึกอบรมจากลุ่มตัวอย่างครูผู้สอน และนักศึกษา จำนวน 120 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็น ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม การประเมินคุณภาพร่างหลักสูตรฝึกอบรมโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินร่างหลักสูตร ระยะที่ 3 การนำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 16 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ หลักสูตรฝึกอบรม แบบสอบถามความพึงพอใจ และระยะที่ 4 การประเมินผลหลักสูตรฝึกอบรมโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 180 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็น</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินความคิดเห็นความต้องการฝึกอบรมของนักศึกษาด้านเทคโนโลยีการจัดการดินด้วยเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสิ่ง เกี่ยวกับหัวข้อฝึกอบรมอยู่ระดับในระดับมากขึ้นไป จำนวน 6 หน่วย 2) การประเมินคุณภาพหลักสูตรฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ค่าความยากง่ายข้อสอบ (p) อยู่ระหว่าง 0.30-0.425 ค่าอำนาจจำแนกข้อสอบอยู่ระหว่าง (r) 0.20-0.50 และความเชื่อมั่นข้อสอบ KR 20 อยู่ที่ 0.88 3) การนำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ฝึกอบรม ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานร้อยละ 89.00 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้าฝึกอบรมมีคะแนนหลังฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนฝึกอบรมและหลังฝึกอบรม คะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรม คิดเป็นร้อยละ 48.60 สูงกว่าก่อนอบรม โดยมีค่า t-stat เท่ากับ 25.05167 คะแนนผู้เข้าฝึกอบรมหลังการอบรมหลักสูตรเกษตรก้าวไกล การจัดการดินด้วยเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตทุกสิ่ง สำหรับนักศึกษาทวิภาคีไทย-อิสราเอล สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีคะแนนสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> <p>ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรมในระดับมากที่สุด 4) การประเมินผลการใช้หลักสูตรฝึกอบรมผลประเมินความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The Development of Agricultural Training Course Soil Management with Internet of Thing For Diploma Agricultural Student Thai-Israel Northeastern Vocational Institute of agricultural, divided into 4 stages as following: Stage 1-the study of problems, needs and training guidelines were conducted by interviewing 15 experts. The training needs were investigated from a sample group of 120 by purposive sampling. Research instrument consisted of questionnaires. Stage 2-the development of training course, including the assessment of outline quality was examined by 5 experts, with the training course outline assessment form as the research instrument. Stage 3-the implementation of the training course was conducted with the sample group of 15 participants by purposive sampling. The research instrument included satisfaction assessment form. Stage 4 - the evaluation of the use of training course was examined with 180 participants as a sample group by purposive sampling, with questionnaires as the research instrument.</p> <p> The findings revealed that 1) the assessment of Soil Management with Internet of Thing concerning training topics was at a high level, in total 6 units. 2) The assessment of training course quality by the experts gained the appropriateness at the highest level, with the difficulty (p) was between 0.30-0.425, the discrimination (r) was between 0.20-0.50, and the reliability of KR 20 test was at 0.88. 3) The curriculum efficiency E1/E2 was as 80.16/81.20, with the performance evaluation of 89.33%.3) Using the training curriculum for training Performance evaluation results were 89.00%. The achievement of the trainees was significantly higher after training than before training at the 0.05 level. Results of comparing scores before training and after training. Average score after training Accounting for 48.60 percent, higher than before the training with a t-stat value of 25.05167, the score of trainees after the Advanced Agriculture training course Soil management with technology internet of things For Thai-Israeli bilateral students Northeastern Agricultural Vocational Education Institute Scores were significantly higher than before the training at the 0.05 level.</p> <p>The participants were most satisfied with the training course. 4) The assessment of the course after the training was at the highest level as well</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4511แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 22024-06-05T17:39:33+07:00ณัฐสิทธิ์ วราวิกสิตkrezexus@gmail.comสรรฤดี ดีปู่sanrudee.d@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์การบริหาร และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามประสบการณ์การบริหาร โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการเป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาเปลี่ยนแปลงองค์กร เพื่อส่งเสริมผู้ใต้บังคับบัญชาให้เกิดความเชื่อถือ เชื่อมั่น ศรัทธาในวิชาชีพและวิสัยทัศน์ที่ทำให้มองเห็นอนาคตขององค์กรอย่างก้าวหน้าและมั่นคง มีความเข้าใจในความสามารถ ความถนัด ความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้ใต้บังคับบัญชา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาพัฒนาตนเองตามความสามารถ ความสนใจเฉพาะด้าน เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางานที่ได้รับมอบหมายให้มีประสิทธิภาพอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด ทฤษฎีสมัยใหม่ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เป็นที่ยอมรับในสังคมโลก เพื่อให้เกิดคุณภาพที่ดีของกระบวนการบริหารสถานศึกษาและการให้บริการที่ดีแก่ผู้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพ</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4645แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 12024-06-22T08:49:39+07:00พิมพ์สุดา พัฒนภูมิชัยthepimsudamork@gmail.comสรรฤดี ดีปู่sanrudee.d@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา และ 3) หาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและ แบบสัมภาษณ์ โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.962 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t ส่วนแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">1. ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ด้านการสร้างบรรยากาศองค์กรนวัตกรรม ด้านการทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านการคิดสร้างสรรค์ และด้านการมีวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง ตามลำดับ</li> <li class="show">2. ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน โดยภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลาง</li> </ol> <p>และขนาดใหญ่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก</p> <ol start="3"> <li class="show">3. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาสามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาองค์กรให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ควรมีการเผยแพร่ความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้แก่บุคลากร และมีกระบวนการในการสร้างให้ครู เป็นบุคคลแห่ง การเรียนรู้ สร้างความเข้าใจร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กำลังใจ สามารถโน้มน้าวและจูงใจบุคลากรในการร่วมมือปฏิบัติงานจากบุคลากรในหลายฝ่ายเพื่อให้เกิดการสร้างทีมงานที่มีคุณภาพ ควรเปิดโอกาสให้บุคลากร มีอิสระด้านความคิดและส่งเสริมสนับสนุนให้ได้รับการพัฒนาตนเอง เปิดโอกาสให้บุคลากรการมีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็นเพื่อร่วมแก้ไขปัญหา และปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำงาน รวมถึงอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ให้เป็นไปอย่างราบรื่นและบรรลุเป้าหมาย ควรตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการสร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ</li> </ol> <p> </p> <p> </p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4621ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 22024-06-26T17:50:27+07:00ประภาภรณ์ จันทรทีประprapapron_poom@hotmail.comดร.บรรจบ บุญจันทร์banjobbun21@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหาร ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 3) สร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต2 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 จำนวน 313 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า มี 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอย แบบขั้นตอน</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านเทคนิควิธี ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะด้านการสื่อสาร และทักษะด้านความคิดรวบยอด ตามลำดับ <br>2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหาร ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ลักษณะสภาพแวดล้อมขององค์กร ปัจจัยด้านงบประมาณ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กร และปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ <br> 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหาร ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนพบว่าปัจจัยที่มีอิธพลสูงสุด คือ ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กร ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านลักษณะสภาพแวดล้อมขององค์กรและปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 เท่ากับ .940 และปัจจัยเหล่านี้สามารถอธิบายความแปรปรวนทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของ ผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 ได้ร้อยละ 88.30</li> </ol> <p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>: </strong>ปัจจัยที่ส่งผล ทักษะการบริหาร ผู้บริหารสถานศึกษา</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4502การพัฒนาการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ2024-06-05T17:38:22+07:00ณัฐกฤตา ศิริพัฒนสกุลชัยcabalclub.new@gmail.comกานต์ เนตรกลางnatkritta@cb.ac.th<p>การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ 2) เปรียบเทียบการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ จำแนกตามขนาดโรงเรียน และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ ปีการศึกษา 2566 ใช้วิธีกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้ตารางสำเร็จของ Krejcie and Morgan ดำเนินการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น และกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสัมภาษณ์<br>เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้<br>ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า แบ่งเป็น 5ระดับ แบบสอบถาม มี 33 คำถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .939 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน <br>การวิเคราะห์โดยการทดสอบค่าที (t-test independent) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาแล้วสรุปบรรยายเป็นความเรียง</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>1. การดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยนสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาผู้เรียน รองลงมา คือ <br>ด้านการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการพัฒนาโรงเรียน</li> <li>ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ จำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกด้าน โดยค่าเฉลี่ยการดำเนินงาน<br>สภานักเรียนของโรงเรียนขนาดใหญ่และใหญ่พิเศษสูงกว่าโรงเรียนขนาดเล็กและกลาง</li> <li>แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสภานักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงาน<br>เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ ควรส่งเสริมและกำหนดยุทธศาสตร์ให้สภานักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเองเป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ โดยยึดหลักประชาธิปไตย<br>ด้วยกระบวนการทำงานที่เป็นระบบ บูรณาการการทำงานกับหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก การมีจิตอาสา เป็นตัวกลางในสำรวจปัญหาจากนักเรียนในโรงเรียน โดยยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น แล้วสะท้อนปัญหาความขัดแย้งภายในโรงเรียนอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของนักเรียน เข้าร่วมเป็นสภานักเรียนต้นแบบ เข้าร่วมสัมมนา<br>และเสวนาสภานักเรียนระดับประเทศ และเชิดชูเกียรติสภานักเรียนที่มุ่งมั่นตั้งใจในการดำเนินงานสภานักเรียน</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4917ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจ ต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน2024-08-13T18:43:02+07:00จุฑามาศ ชารัมย์jutamart.charam@hotmail.comสรรฤดี ดีปู่sanrudee.d@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่</p> <p>การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน 2) ความพึงพอใจต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน และ</p> <p>3) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน กลุ่มตัวอย่างได้แก่</p> <p>ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 335 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่มี</p> <p>ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.81 และแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา</p> <p>ตามทัศนะของครูผู้สอนที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่</p> <p>ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5</li> </ol> <p>ตามทัศนะของครูผู้สอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก </p> <ol start="2"> <li>ความพึงพอใจต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li>ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจต่อการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ตามทัศนะของครูผู้สอน โดยภาพรวม มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อยู่ในระดับสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .828</li> </ol> <p>This research were aimed to study 1) the Role of Administrators according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima, 2) the Satisfaction of School Administrator's Administration according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima, and 3) The Relationship between the Role of Administrators and the Satisfaction of School Administrator's Administration according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima. The sample were 335 teachers under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima in 2023 school year. Instrument was a questionnaires regarding the Role of Administrators with confidence value of 0.81 and a questionnaire regarding the Satisfaction of School Administrator's Administration according to Teachers Attitude with confidence value of 0.83 Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson's correlation coefficient test. </p> <p> The research has revealed that</p> <ol> <li>the Role of Administrators according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima, overall, was at a high level. When considering each aspect, It was found to be at the highest level in every aspect. Be which the highest mean value is resource Manager</li> <li>the Satisfaction of School Administrator's Administration according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima, overall, was at a high level. When considering each aspect, it was found to be at a high level in every aspect. Be which the highest mean value is Budget management</li> <li>The Relationship between the Role of Administrators and the Satisfaction of School Administrator's Administration according to Teachers Attitude under the Primary Educational Service Area Office 5 Nakhon Ratchasima, overall, found that there was rather high level of positive correlation with statistical significance at 0.01 level, equal to .828.</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4761การบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 52024-07-11T18:15:43+07:00พรหมินทร์ ศรีหมื่นไวยnmc.edu1994@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาระดับการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 335 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าเอฟ และระยะที่ 2 การศึกษาแนวทางในการพัฒนาการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">การบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดของสถานศึกษา พบว่าโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show">แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานประกันคุณภาพภายในของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ประกอบด้วย 8 ด้าน คือ 1) ด้านการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2) ด้านการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน 3) ด้านการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 4) ด้านการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 5) ด้านการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) ด้านการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7) ด้านการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และ 8) ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4643ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 12024-06-22T08:48:49+07:00ภัสรินธร ถิขุนทด patsarintorn.t@gmail.comบรรจบ บุญจันทร์banjobbun21@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 2) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 จำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ที่ 1.00 ความเชื่อมั่น แบบสอบถาม ของประสิทธิผลของสถานศึกษามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .905 และภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .969 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการไว้วางใจ ด้านการมีความยืดหยุ่น มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยด้านที่มีอิทธิพลสูงที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4641ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 52024-06-22T08:45:53+07:00กรรณพล เหิมขุนทดkannapol.hoem2@gmail.comบรรจบ บุญจันทร์banjob.b@nrru.ac.th<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา และ 3) พยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ปีการศึกษา 2566 จำนวน 331 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็น แบบสอบถามแบบตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวม เท่ากับ .922 และปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวม เท่ากับ .941 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">การบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่ปลอดภัย รองลงมา คือ ด้านการวางแผนการจัดการความปลอดภัย ด้านการจัดบริการความปลอดภัย และด้านการจัดการเรียนการสอนสวัสดิศึกษา ตามลำดับ</li> <li class="show">ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ปัจจัยด้านการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล รองลงมา คือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ปัจจัยด้านการมีภาวะผู้นำของผู้บริหาร ตามลำดับ</li> <li class="show">ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ด้านการมีภาวะผู้นำของผู้บริหาร ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล มีอิทธิพลร่วมกันต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุด คือ ปัจจัยด้านการมีภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างปัจจัยด้านการมีภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมและปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล มีอิทธิพลร่วมกันต่อการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 เท่ากับ .707 และปัจจัยเหล่านี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 ได้ร้อยละ 50 โดยมีสมการถดถอย ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y^= 1.423 + 0.253X<sub>2</sub> + 0.186X<sub>1</sub> + 0.162X<sub>4</sub> สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Zy^ = 0.425X<sub>2</sub> + 0.220X<sub>1</sub> + 0.219X<sub>4</sub></li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4891การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดีย2024-08-07T20:07:54+07:00กาญจนา ไสว64d0106101@nrru.ac.thดร. วชิรารัตน์ นิรันดร์เตชาภัทร์ wachirarat.n@nrru.ac.th<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง คำที่มีพยัญชนะ และสระไม่ออกเสียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กับเกณฑ์ ร้อยละ 80 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาปรางค์ทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม</p> <p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นทดสอบรายบุคคล จำนวน 3 คน ขั้นทดสอบกลุ่มเล็ก จำนวน 6 คน ขั้นทดสอบภาคสนาม จำนวน 20 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง คำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (x̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ การทดสอบค่าที (t-test)</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า บทเรียนมัลติมีเดียมีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 83.75/84.50 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน คิดเป็นร้อยละ 85.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4929การศึกษาคำผญาในตำบลวังชมภู อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ 2024-08-16T13:31:38+07:00นางสาวศรวณีย์ ตรีเดชsarawanee.pool@gmail.comจิรัฐิพร ไทยงูเหลือมsarawanee.pool@gmail.com<p style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมคำผญาในตำบลวังชมภู อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ และเพื่อวิเคราะห์แนวคิดของคำผญา ตำบลวังชมภู อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ชาวบ้านตำบลวังชมภู อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ มีวิธีการเก็บรวบรวมในรูปแบบการสัมภาษณ์ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถที่ยังมีการใช้คำผญา ในพิธีหรือโอกาสต่างๆ </p> <p style="font-weight: 400;"> ผลการวิจัยพบว่าพบคำผญาทั้งสิ้น 131 ผญา พบผญาความรักมากที่สุด นับว่าเป็นเครื่องมือสื่อสารภาษารักระหว่างหนุ่มสาว ผญาภาษิต เป็นคติสอนใจให้ผู้คนนำไปเป็นแนวทางในการดำรงชีวิต ผญาเกี่ยวกับศาสนา-ศีลธรรม เป็นผญา ที่แทรกคำสอนหรือคำเทศนา ผญาเกี่ยวกับการถ่อมตน การรู้จักประมาณตน ผญาร่วมสมัย ผญาที่แต่งขึ้น มุ่งสะท้อนปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ผญาเกี่ยวกับการปกครอง เป็นการปกครองผู้น้อยลักษณะแบบเครือ ผญาเกี่ยวกับความทุกข์ยาก การต่อสู้ดิ้นรน คำผญาที่เกี่ยวกับการศึกษา และแนวคิดที่ปรากฏในคำผญาพบแนวความคิดด้านคำสอนพบมากที่สุดคิด แสดงให้เห็นถึงคนในอดีตยังคงจดจำหลักคำสอนมาถ่ายทอดให้คนรุ่นหลังได้ประพฤติปฏิบัติให้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี และแนวความคิดด้านความรักที่ยังคงพบมากรองลงมาให้ ความสนใจเกี่ยวกับความรักที่ใช้ในการสื่อสารในการเกี้ยวพาราสี หลักการสอนในการเลือกคู่ครองถ่ายทอดออกมาสื่อให้เห็นแนวคิดของผู้มีภูมิรู้ ผญาปรากฎแนวคิดด้านวิถีชีวิตคิด แนวคิดเรื่องความเชื่อ แนวคิดด้านบุญกรรมคิด แนวคิดด้านการศึกษาตามลำดับ ผญาสะท้อนภาพการดำเนินชีวิต วิถีชีวิตของคนในสังคม มุ่งสอนให้ประพฤติปฏิบัติตนไปในทางที่ดี ให้ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดีมีศีลธรรม แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ ร่วมกันของคนในสังคม เพื่อนำไปเป็น คำสอนอบรมลูกหลาน ขัดเกลาจิตใจให้ มีแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ถูกต้องและเป็นคนดี แฝงด้วยแง่คิด ที่มีสาระเชิงคติธรรมคำสอนมีความสัมพันธ์ ต่อวิถีชีวิตของชาวอีสาน</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4530ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ2024-06-08T15:05:08+07:00วรวลัญช์ พัววิสิทธิ์nep.june501@gmail.comสรรฤดี ดีปู่ sanrudee.d@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ ปีการศึกษา 2565 จำนวน 320 คน เครื่องมือ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ การตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน การตัดสินใจร่วมกัน การมีส่วนร่วมในการประเมินผล รองลงมา ได้แก่ การไว้วางใจกัน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์</p> <p>2) ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ด้านความพึงพอใจในการทำงานของครู รองลงมา ได้แก่ ด้านการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ด้านการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก และด้านการแก้ปัญหาภายในสถานศึกษา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม</p> <p>3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวม มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .835 เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมรายด้านกับประสิทธิผลของโรงเรียนโดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่ง การตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน และการตัดสินใจร่วมกัน มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมมีค่าความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .751 รองลงมา คือ การไว้วางใจกัน มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมในระดับค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .738 ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมในระดับค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .732 ส่วนด้านที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำที่สุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ โดยภาพรวมในระดับค่อนข้างสูง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .730</p> <p><strong>Abstract </strong></p> <p>The purposes of this research were 1) To study Participative Administration of schools Under The Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum 2) To study Effectiveness of schools Under The Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum 3) To study The Relationship between Participative Administration and Effectiveness of school Under The Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum. The sample was group of 320 School administrators and teachers Under The Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum in the academic year 2565, the research instrument was a questionair. The statistics used for analyzing were percentage, mean, standard deviation, Pearsons product moment correlation coefficient, frequency distribution.</p> <p>The results of the study were as follows :</p> <p>1) The opinion of educational administrators and teacher of schools about the participative administration of schools under the secondary educational service area office Chaiyaphum was at the high level overall. When considering each side, it was found that every side was also high level which could order from highest to lowest at goal setting in organization, shared decision making, participatory evaluation, trust and benefits respectively.</p> <p>2) The opinion of educational administrators and teacher of schools about Effectiveness of schools Under under the secondary educational service area office Chaiyaphum was at the high level overall. When considering each side, it was found that every side was also high level which could order from highest to lowest at the satisfaction of teachers, producing students with high academic achievement, developing students to have a positive attitude, solving problems within educational institutions and ability to adapt and develop to the environment respectively.</p> <p>3) The Relationship between participative administration and Effectiveness of schools Under The Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphum was a positive correlation with statistical significance at the level of .01 and the correlation coefficient was at .835. When considering the relationship between participative administration on each side and the effectiveness of schools found that there was related statistical significance at the level of .01 which could order the correlation coefficient from highest to lowest at setting goals and objectives and decision – making were related to the effectiveness of schools and there was a relatively high positive correlation, the correlation coefficient was at .751. Trust was related to the effectiveness of schools and there was a relatively high positive correlation overall, the correlation coefficient was at .738. Participatory evaluation was related to the effectiveness of schools and there was a relatively high positive correlation overall, the correlation coefficient was at .732. Participation in benefits was related to the effectiveness of schools and there was a relatively high positive correlation overall, the correlation coefficient was at .730 respectively.</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4640แนวทางการพัฒนาการใช้นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการสู่การปฏิบัติ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 3 และสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์2024-06-22T08:44:22+07:00เชาวลิต แก้ววิเชียร65d0101221@nrru.ac.thบรรจบ บุญจันทร์banjob.b@nrru.ac.th<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการนำนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ 2 ) เพื่อเปรียบเทียบการนำนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ไปสู่การปฏิบัติ และ 3 ) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการนำนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการไปสู่การปฏิบัติ กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำนวน 124 โรงเรียน และโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ 38 จำนวนโรงเรียน รวมจำนวนทั้งสิ้น 162 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลในแต่ละโรงเรียน คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการหรือครู ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวม เท่ากับ .937 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ การทดสอบค่าที (t-test) และแบบสัมภาษณ์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า <br> 1. การใช้นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 3 และสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ รองลงมา คือ ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย ตามลำดับ</p> <ol start="2"> <li class="show">2. การเปรียบเทียบการใช้นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 3 และสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ จำแนกตามสังกัดของสถานโรงเรียน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show"> แนวทางพัฒนาการใช้นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติของโรงเรียนสังกัด</li> </ol> <p>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 3 และสำนักงานเขตพื้นการศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ โดยการ</p> <p>สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิสรุปแต่ละด้าน คือ การการใช้สื่อสังคมออนไลน์ การพัฒนาการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ</p> <p>การพัฒนาธนาคารหน่วยกิต การพัฒนาการจักการเรียนรู้ส่งเสริมอาชีพ การพัฒนาการแก้ปัญหาหนี้สินครูและปลูกฝัง</p> <p>การออมการพัฒนาการใช่นวัตรกรรมและโทคโนโลยีในหน่วยงาน และการขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษา</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4642ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี2024-06-22T08:47:45+07:00ชินดนัย ผลเจริญmingkop_109@hotmail.comบรรจบ บุญจันทร์banjob.b@nrru.ac.th<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี และ 3) ศึกษาปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี ปีการศึกษา 2566 จำนวน 169 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยใช้ตำแหน่งในสถานศึกษาเป็นชั้นในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี มีลักษณะคำถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวม เท่ากับ .922 และปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวม เท่ากับ .928 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยแบบขั้นตอน</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">ระดับสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ รองลงมา คือ ภาวะผู้นำครู และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ</li> <li class="show">ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ปัจจัยด้านการบริหารงานวิชาการ รองลงมา คือ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ปัจจัยด้านบรรยากาศและวัฒนธรรมองค์การ</li> </ol> <p>3. ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร และปัจจัยด้านการบริหารจัดการมีอิทธิพลร่วมกันต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลสูงสุด คือ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ รองลงมา คือ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร ตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่าง ปัจจัยด้านภาวะผู้นำของผู้บริหาร ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ มีอิทธิพลร่วมกันต่อสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี เท่ากับ .550 และปัจจัยเหล่านี้สามารถอธิบายความแปรปรวนสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี ได้ร้อยละ 30.2 โดยมีสมการถดถอย ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ = 1.972 + 0.220X<sub>5</sub> + 0.202X<sub>1 </sub>สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน = 0.347X<sub>5</sub> + 0.261X<sub>1</sub></p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4822การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นป.3โดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ต2024-07-30T10:29:56+07:00ปัณชิกา เกียรติพงศ์พันธ์punchika0309@gmail.comวชิรารัตน์ นิรันดร์เตชาภัทร์ wachirarat.n@nrru.ac.th<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านสะกดคำภาษาไทยของ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ตก่อนและหลังการทดลอง 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ตก่อนและหลังการทดลอง 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ตหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 4) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ตหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ความสามารถในการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</li> <li class="show">ความสามารถในการเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05</li> <li class="show">ความสามารถในการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าร้อยละ 70 ที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</li> <li class="show">ความสามารถในการเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าร้อยละ 70 ที่ตั้งไว้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</li> </ol> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ</strong>: ความสามารถในการอ่านเขียนสะกดคำภาษาไทย, รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ต </p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4918ธรรมวิถี: กระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับเยาวชน Gen Z โรงเรียนเจี้ยนหัว อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม2024-08-12T20:29:10+07:00พระเจริญพงษ์ วิชัยjaroen1phong@gmail.comพระมหาณรงค์ศักดิ์ สุทนต์charoenphong.wi@mcu.ac.thพระมหาอริยะ ถิรทินรัตน์charoenphong.wi@mcu.ac.thพระสมุห์นพดล สุทนต์charoenphong.wi@mcu.ac.thพระมหาศุภวัฒน์ บุญทอง charoenphong.wi@mcu.ac.th<p>บทความวิจัยเรื่อง ธรรมวิถี: กระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับเยาวชน Gen Z โรงเรียนเจี้ยนหัว อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงค์ เพื่อประยุกต์ใช้หลักพุทธศาสนาออกแบบกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิตของเยาวชน Gen Z ในโรงเรียนเจี้ยนหัว อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ๑๒ คน และการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเยาวชน Gen Z นักเรียน ๔๖ คน ประเมินผลด้วยเทคนิคการสะท้อนคิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจำแนกกลุ่มข้อมูล ตีความและประมวลผลข้อมูลแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า หลักธรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเยาวชน คือ หลักอริยสัจใช้แก้ปัญหา หลักอิทธิบาทใช้ในการเรียนรู้ หลักสังคหวัตถุใช้ในการเกื้อกูลกันในสังคม หลักภาวนา 4 ใช้ในการพัฒนาสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ จากหลักธรรมหล่านี้ นำไปออกแบบกระบวนการกลุ่ม 4 กิจกรรม (1) “คิดได้ ทำได้” ฝึกทักษะการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วอย่างฉับพลัน โดยใช้หลักอริยสัจ (2) “มือถือ มือไถ” ปลูกฝังการใช้เทคโนโลยี ฝึกทักษะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น โดยใช้หลักสังคหวัตถุ (3) “กติกา พาพลิกล็อค” ฝึกทักษะการใฝ่เรียนรู้ การเคารพผู้อื่น กติกาสังคม โดยใช้หลักอิทธิบาท (4) “มันดาลา พาตื่นรู้” การนำศิลปะไปใช้เพื่อการฝึกสติพัฒนาสมาธิ ผลการประเมิน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจและต้องการให้มีการจัดกิจกรรมลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง ข้อดี คือ การได้ฝึกทักษะการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ได้นำหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และได้สร้างมิตรภาพที่ดีต่อกันภายในโรงเรียน ได้รู้จักเพื่อน ๆ มากขึ้น เกิดความคิดสร้างสรรค์มีความสามัคคี ได้มุมมองหลาย ๆ ด้าน ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ในส่วนที่ต้องปรับปรุง คือ ระยะเวลาการจัดและควรเพิ่มฐานกิจกรรม</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4540การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเทคโนโลยีการจัดการผลผลิตด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา2024-06-17T20:04:08+07:00จริชาติ โยธะพลyotapol.jarichart@gmail.comณัฏฐชัย จันทชุม Nattachai@rmu.ac.thทิพาพร สุจารี Tipaporn.s012501@gmail.com<p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เทคโนโลยีการจัดการผลผลิตด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและความต้องการฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างจำนวน 155 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ระยะที่ 2 เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม โดยประเมินคุณภาพร่างหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน ระยะที่ 3 การนำหลักสูตรฝึกอบรมไปใช้ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง แผนกวิชาพืชศาสตร์ จำนวน 50 คนและ ระยะที่ 4 การประเมินหลักสูตรฝึกอบรม โดยนำผลการวิจัยไปประเมินหลักสูตรตามแบบจำลองซิป (CIPP Model)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินสภาวะแวดล้อมข้อมูลความต้องการพื้นฐาน และความต้องการในการฝึกอบรมประกอบไปด้วย 3 หน่วย 11 หัวข้อ 2) ผลการประเมินคุณภาพหลักสูตร โดยผู้เชี่ยวชาญ 10 คน ได้แก่ ความสอดคล้องของหลักสูตร อยู่ระหว่าง 0.71 – 1.00 ความเหมาะสมของโครงร่างหลักสูตร ความเหมาะสมของหลักสูตร โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก 3) การประเมินผลการทดลองใช้หลักสูตร จากกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ผู้เข้าอบรมมีค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญยิ่งที่ระดับ .05 ในระดับปฏิบัติการอยู่ในระดับมาก ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการฝึกอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ระดับความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมอยู่ในระดับมาก 4) การประเมินผลการใช้หลักสูตร พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ได้แก่ ด้านผลผลิต (x̄ 4.71, S.D. = 0.38) ด้านปัจจัยนำเข้า (x̄ = 4.69, S.D. = 0.30) และด้านบริบท (x̄ = 4.65, S.D. = 0.41) ตามลำดับ</p> <p> </p> <p><strong>Abstract </strong></p> <p>This study has been designed as a research and development of the product management technology of BCG Model for Diploma Agricultural Students Office of the Vocational Education Commission. Consisted of four steps as follows ; Phase 1: study and analysis of general backgrounds, and training needs. Sample group 155 people. By purposive Sampling. Phase 2: development of training curriculum, Phase 3: Implementation of the training curriculum. The sample group consists of 50 students from the Higher Vocational Certificate in Plant Science program. Phase 4 : Evaluation of the training curriculum. The research results will be used to assess the curriculum based on the CIPP Model.</p> <p> </p> <p>The research results found that:</p> <p>1) The evaluation of the environmental conditions, basic information needs, and training requirements consisted of 3 units and 11 topics.</p> <p>2) The curriculum quality evaluation by 10 experts revealed that the curriculum's alignment ranged from 0.71 to 1.00. The overall appropriateness of the curriculum outline and the curriculum itself was rated as high.</p> <p>3) The trial implementation of the curriculum evaluation from the sample group showed that the average post-training scores of the trainees were significantly higher than the pre-training scores at the .05 level. The operational level was rated as high, and the satisfaction with the training was rated as the highest. The trainees' overall feedback was rated as high.</p> <p>4) The final evaluation of the curriculum indicated that, overall, it was rated as the highest. When ranking the averages from highest to lowest, the categories were product, input, and context.</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4740การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์2024-07-10T09:51:48+07:00อนันตญา บุตรกุลanantaya1.ku73@gmail.comณพฐ์ โสภีพันธ์anantaya1.ku73@gmail.comนฤเบศ ลาภยิ่งยง anantaya1.ku73@gmail.comอนุชิต กล้าไพรี anantaya1.ku73@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ ระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวังก้านเหลืองดรุณกิจ ตำบลบ้านค่าย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 13 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 8 แผน และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 8 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ทั้งฉบับเท่ากับ 0.90 ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า</p> <ol> <li>ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</li> <li>ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจากได้รับการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</li> </ol> <p> </p> <p>The purposes of this research were to compare 1) mathematical problem solving ability on topic problems addition, subtraction, multiplication, and division decimals of sixth grade students between before and after using a learning management on mathematizing process 2) mathematical problem solving ability on topic problems addition, subtraction, multiplication, and division decimals of sixth grade students base on 60 percent of the assigned criteria after using a learning management on mathematizing process</p> <p>The sample was 13 students of sixth grade in the second semester of academic year 2023 of Wangkanluangdarunkit School, Chaiyaphum province, Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 1, which selected randomly through purposive sampling technique. The instrument used in this research include: 8 lesson plans by using a learning management on mathematizing process. Each plan used an hour per period. And the instruments used to collect data include: mathematics problem solving ability test that 8 items of subjective test. The collected data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation and t-test statistics.</p> <p>The results of the study revealed that:</p> <ol> <li>Mathematical problem solving ability on topic problems addition, subtraction, multiplication, and division decimals of sixth grade students after using a learning management on mathematizing process was higher than before at the .05 level of statistical significance.</li> <li>Mathematical problem solving ability on topic problems addition, subtraction, multiplication, and division decimals of sixth grade students after using a learning management on mathematizing process was higher than 60 percent of the assigned criteria at the .05 level of statistical significance.</li> </ol> <p><strong>Keywords</strong><strong> : </strong>Mathematical problem solving, Problems addition, subtraction, multiplication, and division decimals, Learning management on mathematizing process</p>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายานhttps://so09.tci-thaijo.org/index.php/nsc/article/view/4900แนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 2024-08-12T20:33:40+07:00นายสุชานนท์ ชูวังวัด suchanon261038@gmail.com<p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 2) เปรียบเทียบการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 ปีการศึกษา 2566 จำนวนทั้งสิ้น 173 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t ส่วนแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li>การบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการบริหารบัญชี และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา</li> <li>การเปรียบเทียบการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมและรายได้ด้านแตกต่างกัน</li> <li>แนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 พบว่า สถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์การบริหารงบประมาณ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เจ้าหน้าที่การเงิน ควรมีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งขึ้นให้มีหน้าที่ชัดเจน และควรศึกษาคู่มือหรือแนวทางปฏิบัติในภาระงานต่าง ๆ ให้มีดำเนินงานที่ถูกต้องตามระเบียบ ทันเวลา และสามารถตรวจสอบได้</li> </ol>2024-12-27T00:00:00+07:00Copyright (c) 2024 วารสารเสียงธรรมจากมหายาน