การจัดการเรียนการสอนตามหลักไตรสิกขา
Teaching and learning according to the Threefold Learning
คำสำคัญ:
ไตรสิกขา, การจัดการ, การสอนบทคัดย่อ
บทความนี้ใช้จัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาของนักเรียนขั้นตอนการจัดการเรียนการเรียน มีความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับผู้บริหารมีความจริงใจในการทำงานปัญหา คือ ครูมีลักษณะและทัศนคติที่ต่างกันในการจัดการเรียนการสอนตามหลักไตรสิกขา โดยเสนอแนะว่าควรมีกระบวนการนำหลักไตรสิกขามาพัฒนากับการเรียนรู้เข้าใจเกี่ยวกับพุทธธรรมเพื่อให้ครูมีทัศนคติที่ตรงกัน โรงเรียนส่งเสริมบุคลากรและนักเรียนให้ปฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นปัญหา คือ ในโรงเรียนมีความเป็นแบบอย่างที่ดีแต่ขาดการประสานสัมพันธ์กับชุมชนซึ่งสอดคล้องกับของการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาของครูและผู้บริหาร โดยเสนอให้จัดกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์อย่างเป็นกัลยาณมิตรระหว่างครู ผู้บริหาร นักเรียนและ ชุมชน นักเรียนมีความเชื่อมั่นในผลการกระทำความดี จากการจัดกิจกรรมการพัฒนา ศีล สมาธิ และโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะให้ส่งเสริมการฝึกสมาธิ เจริญปัญญาก่อนจะจัดการเรียนการสอน เห็นผลดีของการกระทำความดีของตน ซึ่งปัญหา คือ การดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามหลักไตรสิกขายังขาดความร่วมมือย่างจริงจัง เนื่องจากหลักการจัดการเรียนการสอนตามหลักไตรสิกขา ควรประสานความในการดำเนินงานจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาในด้านการดำเนินงานจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา