รูปโฉมและบทบาทเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองที่ใส่ใจสังคมให้น่าอยู่
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ต้องการให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงความหมายของพลเมืองที่ดีและตระหนักถึงคุณลักษณะของพลเมืองที่ดีที่ทำให้สังคมน่าอยู่ยิ่งขึ้น เนื่องจากในปัจจุบันคนในสังคมที่มีจิตอาสาต่อสังคมส่วนรวมเริ่มมีจำนวนน้อยลง อาจเป็นสาเหตุประการหนึ่งที่ทำให้วิถีชีวิตในปัจจุบันที่มีการแข่งขัน ชิงดีชิงเด่น จึงทำให้สังคมเกิดความเห็นแก่ตัวโดยลืมนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมของสังคม ด้วยเหตุนี้จึงมีการส่งเสริมตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาที่เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของสังคมเพื่อให้คนในสังคมดำเนินชีวิตในทิศทางที่ถูกต้องทั้งนี้ยังมีองค์กรที่ส่งเสริมเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองและคอยแนะนำให้สถาบันในสังคมตระหนักถึงคำว่าพลเมืองที่ดีที่จะทำให้สังคมน่าอยู่อย่างยั่งยืน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
สมาคมกิฟวิ่ง แบค. สนับสนุนองค์กรการกุศลในประเทศไทยและภูมิภาค. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2563. จาก https://www.givingbackassoc.org/thai%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2
วิไลวรรณ ปันวัง. (2562). การจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานคุณธรรมเป็นสื่อเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีของเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จันทนา สุทธิจารี. (2563). การส่งเสริมความเป็นพลเมืองเข้มแข็งผ่านสำนึกทางประวัติศาสตร์:
“พ่อพิชัย” กับ การส่งเสริมความเป็นพลเมืองเข้มแข็งของชาวคอรุมจังหวัดอุตรดิตถ์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พสชนัน นิรมิตรไชยนนท์. (2560). รูปแบบการเสริมสร้างความเป็นพลเมือง. มหาวิทยาลัยมหิดล.
สถาบันพระปกเกล้า. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 13 ประจำปี2554 เล่ม 2 ความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า. 2555.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education): พัฒนาการเมือง
ไทยโดยสร้างประชาธิปไตยที่คน. (เอกสารประกอบการบรรยายการประชุม คณะอนุกรรมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของรัฐสภา และเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ครั้งที่2/2555 11 ธันวาคม 2555).
จิตตรี พละกุล. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่น.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต),(2540). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
ภาสกร ดอกจันทร์, รพีพร ธงทอง,และสุรพล พรมกุล. (2563). การสร้างความปรองดองของประชาชนในจังหวัดเลยตามหลักธรรมในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อให้มีการอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 3 (1), 90-91.