ระบบเผด็จการตามแนวคิดนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ในมุมของคาร์ล มาร์กซ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัย เรื่องระบบเผด็จการตามแนวคิดนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ในมุมของคาร์ล มาร์กซ์ โดยกรณีการศึกษาระบบเผด็จการตามแนวคิดนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ในมุมของคาร์ล มาร์กซ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงการเผยแพร่ลัทธิมาร์กซ์ในสยามในอดีต และประวัติของนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ์ และแนวคิดอุดมการณ์ทางการเมืองลัทธิของคาร์ล มาร์กซ์ และแนวคิดระบบเผด็จการของคาร์ล มาร์กซ์ โดยจะพูดถึงระบอบเผด็จการแบบคอมมิวนิสต์ และคาร์ล มาร์กซ์ได้มุ่งอธิบายถึงกลยุทธ์ในการล้มล้างลัทธินายทุนโดยการต่อสู้ทางชนชั้นเพื่อนำไปสู่สังคมคอมมิวนิสต์ ซึ่งสังคมคอมมิวนิสต์เป็นรูปแบบการปกครองจะช่วยทำให้ชนชั้นกรรมาชีพเป็นอิสระจากการถูกกดขี่โดยชนชั้นนายทุน ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์มีความแตกต่างจากระบอบเผด็จการทหารอยู่ข้อหนึ่งที่สำคัญ คือ ระบอบเผด็จการทหารจะควบคุมเฉพาะกิจกรรมทางการเมืองของประชาชนเท่านั้น แต่ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์จะใช้อำนาจเผด็จการควบคุมกิจกรรมละการดำเนินชีวิตของประชาชนในทุกด้าน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
อัครยา สังขจันทร์ (18 กันยายน 2553) สังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ์ สะท้อนสังคมไทย สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2563 จากhttp://oknation.nationtv.tv/blog/nu52/2010/09/11/entry-1
Pattaramon Suwapan (30 มีนาคม 2562) วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ รากฐานทางปรัชญา และคุณูปการในการเปลี่ยนแปลงสังคม สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2563 จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/pegbuu/article/view/199667
สมภาร พรมทา (2540) ปรัชญาสังคมและการเมือง สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2563 จากhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jssnu/article/view/186376
พจมาน บุญไกรศรี (2549) ทรรศนะเรื่องเสรีภาพของคาร์ล มาร์กซ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2563 จากhttps://sites.google.com/site/laththi
ส. ศิวรักษ์ (2525) นักปรัชญาการเมืองฝรั่ง สืบค้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2563 จากhttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/199863