ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มชาวอมก๋อยกับการคัดค้านเหมืองแร่ถ่านหิน : แนวคิด หลักการ รูปแบบและยุทธวิธี

Main Article Content

รวิชา คำแปง

บทคัดย่อ

ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม​ของกลุ่ม​ชาวอมก๋อย​กับการ​คัดค้าน​เหมืองแร่​ถ่านหินเป็นการอ้างความชอบธรรมที่ต้องการต่อสู้เรียกร้องในสิทธิ์การคัดค้านสัมปทานเหมืองแร่ถ่านหิน สาเหตุการคัดค้านเหมืองแร่ถ่านหินเพราะชาวบ้านวิตกกังวลต่อผลกระทบต่อวิถีชีวิต อัตลักษณ์ และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงอีกสาเหตุผลหนึ่งกับความไม่โปร่งใสในการทำ EIA  ส่วนรูปแบบและยุทธวิธีการเคลื่อนไหวต่อสู้มีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่การขึ้นป้ายคัดค้าน การเรียกร้อง การเดินขบวน การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย การยื่นหนังสือคัดค้านต่อหน่วยงานราชการ นอกจากนั้นการต่อสู้ยังใช้เรื่องของความเชื่อทางด้านสังคม วัฒนธรรม และจารีตประเพณีมาหนุนเสริมในการเคลื่อนไหว

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ใจ อึ๊งภากรณ์. (2558). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในปัจจุบัน-จุดยืนมาร์คซิสต์.วันที่ค้นข้อมูล 21 กันยายน 2561, จาก https://turnleftthai.wordpress.com/2015/05/31

ธเนศ มรรคาสกุล. (2557). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่ในประเทศไทย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบ, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2543). จาก “นิเวศเศรษฐศาสตร์” สู่ “นิเวศวิทยาการเมือง” (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2543). ทฤษฎีขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใช้กับสังคมไทยได้หรือไม่? ใน โครงการพลวัตเศรษฐกิจการเมืองไทย พ.ศ. 2543: ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (หน้า 1-22). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รงค์ บุญสวยขวัญ. (2557). การจัดการทางสังคม: สังเคราะห์แนวคิดเพื่อการอธิบายการจัดการกลุ่มองค์กรประชาชนในสังคมชนบทไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 167-200.

Garner, R. T. (1999). Virtual social movements. Presented at The Zaldfest : a conference in honor of Mayer Zald, University of Michigan Ann arbor Mi.

GREENPEACE. (17 กุมภาพันธ์ 2563). โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก https://www.greenpeace.org/thailand/explore/resist/coal/coal-area/omkoi/.

GREENPEACE. (15 ตุลาคม 2563). แหล่งอาหารในอมก๋อยอาจได้รับผลกระทบจากถ่านหิน. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก https://www.greenpeace.org/thailand/story/18016/climate-coal-omkoi-resources/.

GREENPEACE. (22 ตุลาคม 2562). เหมืองถ่านหิน : 1 ปีแห่งการต่อสู้และก้าวย่างอย่างคนอมก๋อย. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก https://www.greenpeace.org/thailand/story/18081/climate-coal-omkoi-1-year-CatDumb

News. (25 พฤษภาคม 2562) ชาวบ้านขอคัดค้านการทำเหมืองแร่ถ่านหิน ในเชียงใหม่กระทบทั้งคนและสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก ttps://www.catdumb.com/mining-in-chiangmai-339/.mine-protest/.

McCarthy, J. D. Zald, M. N. (1977). Resource mobilization and socialmovements: A partial theory. American journal of sociology, 82(6), 1212-1241.

Tilly, C. (1986). The Contentious French. Cambridge. Harward University Press