การตื่นตัวทางการเมืองของพลเมืองยุคใหม่ในสังคมไทย

Main Article Content

อมรรัตน์ เปียงผาตั้ง
อัญญานี อาษา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้วิเคราะห์การตื่นตัวทางการเมืองของพลเมืองยุคใหม่ในสังคมไทย โดยในส่วนของเนื้อหาได้กล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตย สถานการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนในสังคมไทยที่ผ่านมา การครองอำนาจและขาดความชอบธรรมในการบริหารรัฐบาลและการตื่นตัวทางการเมืองของพลเมืองยุคใหม่ โดยความตื่นตัวทางการเมืองเกิดจากหลายๆ สาเหตุและก่อให้เกิดการเรียกร้องทางการเมือง ต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมา การมีความเข้าใจทัศนคติที่แตกต่างกันนำไปสู่ความแตกแยก แบ่งฝ่ายระหว่างภาคประชาชนกับรัฐ ประชาชนเคยประสบปัญหาที่ผ่านมาทางการเมืองโดยที่ภาครัฐไม่ทำหน้าที่เพื่อส่วนรวมโดยมากทำเพื่อส่วนตน พลเมืองยุคใหม่จึงต้องการความเสรี ความเสมอภาคและการบริหารที่ดีขึ้นจากที่ผ่านมา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

นิธิ เอียวศรีวงษ์. (2562). ความชอบธรรม : ความจำเป็นที่ถูกละเลย. สืบค้นจากhttps://www.matichon.co.th/columnists/news_1541455

บดินทร์ สายแสง. (2553). ภาวะแห่งการตื่นตัวและเรียกร้องทางการเมือง. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2010/04/28617

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2562). อำนาจและความชอบธรรมในฐานะแกนกลางของความขัดแย้ง. สืบค้นจาก https://mgronline.com/daily/detail/963000005672

สามารถ มังสัง. (2562). ข้อเรียกร้อง 3 ข้อของผู้ชุมนุม : เงื่อนไขที่บิ๊กตู่ทำตามได้ยาก. สืบค้นจาก https://mgronline.com/daily/detail/9630000089208

อนุชิต ไกรวิจิตร. (2562). การเทาะความคิด‘คนรุ่นใหม่’พวกเขาต้องการอะไร? เมื่อตัดสินใจแสดงพลังทางการเมือง. สืบค้นจาก https://thestandard.co/new-generation-perspective-break-down/.

อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2551). การปฏิรูปการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยในสังคมไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 6 (3), 55-66

Dahi, Robert A. (1997). Polyarchy : Participation and Opposition. New Haven : Yale University Press.

Etzioni-Halevy, E. (1997). Classes and Elites in Democracy and Democratization: A Collection of Readings. New York: Garland.

Huntington,Samuel P. (1991). The Third Wave Democratization in the LateTwentieth Century. Norman: University of Oklahoma Press