ทรรศนะเรื่่องสัมบููรณนิยมของสำนักโยคาจาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
สััมบููรณนิยมหรือสิ่่งสมบููรณ์ได้้ถือว่่าความจริ ิงสููงสุุดเรื่่องหนึ่่งในคัมภีร์มหายานสููตราลังการของสำนักโยคาจารซึ่่งเป็นพุุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ท่านอสัังคะเป็นผู้รจนาคัมภีร์ดัังกล่่าวและได้้กล่่าวถึงสิ่่งสัมบููรณ์์หรือสัมบููรณนิยมในลัักษณะที่่แสดงลัักษณะของสิ่่งที่่เป็นความจริงสููงสุุดที่่มีอยู่เอง เป็นนิรัันดร์ เป็็นสิ่่งที่่ไม่่เปลี่่ยนแปลง สรรพสิ่่งในจัักรวาลไม่่ใช่่สิ่่งที่่เป็นจริง เป็นเพียงผลผลิตของจิตเท่่านั้้น
Article Details
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เดลลา สันตินา ปีเตอร์. (2553). ต้นไม้แห่งโพธิ:คําสอนพื้นฐานแห่งพระพุทธศาสนา มหายาน วัชรยาน, พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่ : บีเอสดีการพิมพ์
โดนัลด์ เอส โลเปซ เขียน “การตีความพระสูตรมหายาน” สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2564, จาก: http://oldweb.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=416&articlegroup_id=102
พระมหาสมจินต์ สมมาปญโญ. (5 มีนาคม 2558), พุทธปรัชญาโยคาจาร : ประวัติ พัฒนาการ สารัตถ ธรรม และอิทธิพล. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2564, จาก: https://www.mcu.ac.th/article/detail/14215
เสถียร โพธินันทะ. (2541). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย
ราชบัณฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2540). คู่มืออภิปรัชญา, กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน