กรวยกระดาษน้ำดื่มเคลือบสารสกัดจากดอกบัวฉลองขวัญ

Main Article Content

ธนภพ โสตรโยม
ชญาภัทร์ กี่อาริโย
นพพร สกุลยืนยงสุข
น้อมจิตต์ สุธีบุตร
ดวงกมล ตั้งสถิตพร
ศุภัคษร มาแสวง
ดวงรัตน์ แซ่ตั้ง
สุมภา เทิดขวัญชัย
เจนปอ ซู

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการใช้สารสกัดดอกบัวฉลองขวัญเคลือบบนกรวยกระดาษน้ำดื่มโดยการศึกษาชนิดของตัวทำละลายในการสกัดปริมาณกลิ่นของสารสกัดดอกบัวฉลองขวัญ จำนวน 3 วิธี คือ 1) น้ากลั่น 2) น้ากลั่น+เอทานอล และ 3) เอทานอล โดยใช้วิธีแช่ทิ้งไว้3 วัน แล้วนาไประเหย ด้วยเครื่อง Vaccuum นาสารสกัดที่ได้มาเปรียบเทียบลักษณะปรากฏพบว่า การสกัดกลิ่นดอกบัวฉลองขวัญด้วยน้ำกลั่นให้ลักษณะที่ดีที่สุด มีสีม่วงอ่อน มีกลิ่นหอมของดอกบัวฉลองขวัญ สามารถสกัดแอนโทไซยานินของดอกบัวฉลองขวัญได้เป็นสีม่วงอ่อนไม่เข้มมากจนเกินไป จึงนำสารสกัดที่สกัดได้จากน้ากลั่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์กรวยกระดาษน้ำดื่มเคลือบสารสกัดดอกบัวฉลองขวัญ โดยศึกษาวิธีการเคลือบสารสกัดดอกบัวฉลองขวัญ จำนวน 3 วิธี คือ 1) การพัฒนาฟิล์มที่ใช้แป้งข้าวเจ้า 2) แป้งมันสำปะหลัง และ 3) วิธีเอนแคปซูเลชัน เป็นส่วนช่วยในการยึดเกาะ พบว่า แป้งมันสำปะหลัง สามารถเคลือบสารสกัดดอกบัวฉลองขวัญบนกรวยกระดาษน้ำดื่มได้ดีที่สุด โดยได้ทดสอบทางประสาทสัมผัสด้านลักษณะปรากฏ กลิ่น สี และความชอบโดยรวม และได้ทำการทดสอบผู้บริโภคจานวน 100 คน พบว่า ผู้บริโภคทำการยอมรับ กรวยกระดาษน้ำดื่มเคลือบสารสกัดจากดอกบัวฉลองขวัญร้อยละ 98

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ธนภพ โสตรโยม ชญาภัทร์ กี่อาริโย เกศรินทร์ เพ็ชรรัตน์ ดวงสุดา เตโชติรส นพพร สกุลยืนยงสุข ดวงกมล ตั้งสถิตพร และดวงรัตน์ แซ่ตั้ง. (2559). การศึกษาวิธีการสกัดน้าปรุงทิพย์จากดอกบัวบาน. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://repository.rmutp.ac.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

บุษราคัม สิงห์ชัย นิศา ตระกูลภักดี และสาวิตรี ทองลิ้ม. (2560). น้ามันหอมระเหยจากเกสรบัวหลวงราชินี. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.tci-thaijo.org. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

พรพิมล ม่วงไทย. (2550). การเตรียมผงสีย้อมจากเปลือกผลมังคุดบนสารดูดซับ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://cms2.swu.ac.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (ม.ป.ป.). บทบาทของน้าในอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.foodnetworksolution.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

วรรณา ขันธชัย. (2555). การผลิตฟิล์มที่รับประทานได้. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://research.rmutsb.ac.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

วิภาวรรณ นีละพงษ์ บุษบา ผลโยธิน และวันเช็ง สิทธิกิจโยธิน. (2561). การสกัดสารสกัดสมุนไพรไทย แบบผงแห้งและแบบสกัด วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 29 (1) : มกราคม-มีนาคม, 163.

วีระปะวัติ ตรีสุวรรณ และดวงพร ศุภนันทนานนท์. (2561). บัว Waterlilies & Lotuses. สำนักพิมพ์บ้านและสวน.

สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน. (2560). เอทานอล (Ethanol). [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://gnews.apps.go.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

สมศักดิ์ ภักดีวราภรณ์. (2544). การผลิตฟิล์มที่รับประทานได้จากแป้งข้าวเจ้าและแป้งมันสำปะหลัง. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://fic.nfi.or.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

สมหวัง สงแสง. (2557). การศึกษาสมบัติทางกายภาพและการยอมรับทางประสาทสัมผัสของไส้กรอกหมูโดยการเคลือบไคโตซานร่วมกับน้ามันหอมระเหยกานพลู. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://kukr.lib.ku.ac.th สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

อรลักษณา แพรัตกุล. (2552). การเคลือบ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://thesis.swu.ac.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

Daniel J. Fosmire. (2007). Rim moistening applicator and method. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://patents.google.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.

Srinagarind Medical Journal. (ม.ป.ป.). ไมโครเอนแคปซูเลชัน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.smj.ejnal.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2562.