กลไกการเกิดอนุมูลอิสระ และกลไกของสารต้านอนุมูลอิสระในร่างกายมนุษย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
อนุมูลอิสระ (oxidant หรือ free radical) หมายถึง อะตอมหรือโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนที่ไม่มีคู่ โดดเดี่ยวอยู่รอบนอก เป็นโมเลกุลที่ไม่เสถียรและมีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในลักษณะเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ (ดังสมการ 1 และ 2) สามารถเข้าทำปฏิกิริยากับสารชีวโมเลกุลต่างๆ ที่อยู่รอบข้างได้ทันทีที่ถูกสร้างขึ้นมีความว่องไวในการเข้าทำปฏิกิริยามาก และสามารถดึงอิเล็กตรอนจากโมเลกุลอื่นมาแทนที่อิเล็กตรอนที่ขาดหายไปเพื่อให้ตัวเองเกิดความสมดุล หรือมีความเสถียร (ศิริธร, 2557)
Article Details
References
ณัฏฐิกา ศิลาลาย. 2549. ฟลาโวนอยด์ในใบชา: หน้าที่ การใช้ประโยชน์ และการวิเคราะห์. วารสารเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 2(1), 2-10.
ธิดารัตน์ สมดี. 2558. อาหารกับการต้านอนุมูลอิสระในผักพื้นบ้าน. ขอนแก่น: สรรพโสการพิมพ์.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2561. Phenolic compounds /สารประกอบฟีนอล. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2585/phenoliccompounds-สารประกอบฟีนอล. (10 มกราคม 2562).
ลือชัย บุตคุป. 2560. ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันและปริมาณสารพฤกษเคมีในเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อสุขภาพที่ผลิตจากชาเขียวใบหม่อน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13 (พิเศษ), 368-378.
ศิริธร ศิริอมรพรรณ. 2557. สารต้านอนุมูลอิสระในอาหาร. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
สิริพรรณ จุลกรังคะ. 2558. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุนีย์ สหัสโพธิ์. 2560. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาโภชนบำบัด เรื่อง...โภชนาการเพื่อการต้านและบำบัดโคมะเร็ง. กรุงเทพฯ: คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยราชมงคลพระนคร ศูนย์โชติเวช. (อัดสำเนา)
สุนีย์ สหัสโพธิ์. 2554. ชีวเคมีทางโภชนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์.
Ames, D., et al. 1 9 9 3 . Character of active hydrothermal mounds and nearby altered hemipelagic sediments in the hydrothermal areas of Middle Valley, northern Juan de Fuca Ridge; data on shallow cores. The Canadian Mineralogist, 31(4), 973-995.