การใช้สารแอนโทไซยานินที่สกัดจากกลีบรองดอกกระเจี๊ยบแดงในน้ำกระเจี๊ยบแดงอัดแก๊ส
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรรมวิธีการสกัดสารแอนโทไซยานินจากกลีบรองดอก กระเจี๊ยบแดงแบบแห้งและแบบสด และศึกษาระดับปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ เหมาะสมในการผลิตน้ำกระเจี๊ยบแดงอัดแก๊ส พบว่ากรรมวิธีการสกัดสารแอนโทไซยานินจาก กลีบรองดอกกระเจี๊ยบแดงที่เหมาะสม คือ การสกัดแบบต้มก่อนสุญญากาศ และกลีบรองดอก กระเจี๊ยบแดงแบบแห้งมีปริมาณสารแอนโทไซยานินสูงที่สุด คือ 201.46 มิลลิกรัม/500 มิลลิลิตร 145 เป็นระยะเวลาการกลั่นสุญญากาศที่เหมาะสม โดยระยะเวลาในการกลั่นสุญญากาศที่ 45 นาที เป็นระยะเวลาการกลั่นสูญญากาศที่เทว 229.87 มิลลิกรัม/500 มิลลิลิตร เมื่อนำหัวเชื้อน้ำกระเจี๊ยบแดงอัดแก๊ส พบว่าระดับปริมาณของแข็ง ทั้งหมดที่ละลายได้เหมาะสมในการผลิตน้ำกระเจี๊ยบแดงอัดแก๊สอยู่ที่ 12 "Brix ผู้ทดสอบให้ คะแนนความชอบในทุกด้านมากที่สุด โดยมีค่าความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 3.21 และปริมาณสาร แอนโทไซยานินคือ 52.70 มิลลิกรัม/500 มิลลิลิตร
Article Details
References
ญาณี จินดามัง และปิยะวิทย์ ทิพรส. (2555) ความคงตัวของสารแอนโทไซยานินจากกาก กลีบดอกกระเจี๊ยบแดงในผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวมูน. วารสารสุทธิปริทัศน์. 26, 80 (กันยายน-ธันวาคม) : 129-146.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. (ม.ป.ป.) น้ำอัดลม. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2559, จาก http://www. foodnetworksolution.com/carbonated-softdrink
สุภาพ นนทะสันต์. (2543). การประยุกต์ใช้สารด้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดกระเจี๊ยบแดงใน ผลิตภัณฑ์โยเกิร์ต. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
อรุษา เชาวนลิขิต. (2554), การสกัดและวิธีการวิเคราะห์แอนโทไซยานิน. วารสารมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). 3(6), 26-36.