บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญไต้หวันในการคุ้มครองความเสมอภาคระหว่างเพศ

Main Article Content

ปฐมน แป้นเหลือ

บทคัดย่อ

     ไต้หวันได้รับอิทธิพลความคิดด้านการเมืองการปกครองจาก ดร.ซุน ยัตเซ็น โดยเป็นรัฐเสรีประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ รัฐธรรมนูญไต้หวันมีบทบัญญัติที่มีที่มาจากหลักประชาธิปไตยและหลักนิติรัฐ รวมถึงมีบทบัญญัติเรื่องหลักความเสมอภาคโดยเฉพาะเรื่องความเสมอภาคระหว่างเพศที่บัญญัติสอดคล้องทัดเทียมกับนานาชาติ ไต้หวันมีศาลรัฐธรรมนูญทำหน้าที่ตรวจสอบการรับรองสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญของประชาชน และมีบทบาทอย่างมากต่อการคุ้มครองรับรองหลักความเสมอภาคระหว่างเพศ บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญและแนวคิดเรื่องหลักความเสมอภาคของไต้หวัน พร้อมทั้งพิจารณาถึงบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญไต้หวัน
ในการคุ้มครองความเสมอภาคระหว่างเพศจากตัวอย่างคดี 3 คดี ในประเด็นความเสมอภาคระหว่างชายและหญิง จากคดีเกี่ยวกับสมาคมนับถือบรรพบุรุษซึ่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยไว้ 2 คดี ในปี ค.ศ. 2015 และปี ค.ศ. 2023 รวมถึงประเด็นความเสมอภาคของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในคดีปี ค.ศ. 2017 ที่ทำให้ไต้หวันเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียที่รับรองสิทธิให้บุคคลเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
แป้นเหลือ ป. (2024). บทบาทของศาลรัฐธรรมนูญไต้หวันในการคุ้มครองความเสมอภาคระหว่างเพศ. วารสารวิชาการศาลปกครอง, 24(2), หน้า 208–240. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/admcJ/article/view/3994
บท
บทความทางวิชาการ

References

บรรณานุกรม

คำพิพากษา/คำสั่ง/ความเห็นทางกฎหมาย

Hsiao-Wei KUAN, ‘Interpretation No.728 Qualifications for Successors of Ancestor Worship Guilds

Case’ (Constitutional Court R.O.C. (Taiwan), 20 March 2015) <https://rb.gy/woj96>

accessed 10 July 2023.

The Department of Clerks for the Constitutional Court, ‘Press Release on the Same-Sex

Marriage Case’ (Constitutional Court R.O.C. (Taiwan), 24 May 2017)

<https://cons.judicial.gov.tw/en/docdata.aspx?fid =2175&id=339895> accessed 10 July 2023.

The Department of Clerks for the Constitutional Court, ‘Summary of TCC Judgment 112-Hsien-Pan-1

(2023)’ (Constitutional Court R.O.C. (Taiwan), 11 May 2023) <https://rb.gy/tqulr> accessed

July 2023.

บทบัญญัติแห่งกฎหมาย

บทบัญญัติเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 2005 (The Additional Articles of The Constitution, 2005)

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human Rights

รัฐธรรมนูญไต้หวัน (Constitution of The Republic of China (Taiwan))

รัฐบัญญัติองค์กรสภาตุลาการ ค.ศ. 2020 (Judicial Yuan Organization Act, 2020)

รัฐบัญญัติวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ค.ศ. 2019 (Constitutional Court Procedure Act, 2019)

รัฐบัญญัติว่าด้วยสมาคมนับถือบรรพบุรุษ ค.ศ. 2007 (Act for Ancestor Worship Guild, 2007)

อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW)

เว็บไซต์

ชญาพัฒน์ อัมพะวัต, ‘คำนิยามของคำว่า “ความเสมอภาค (Equality)” ผ่านมุมมองของกฎหมายสิทธิมนุษยชน

ระหว่างประเทศ’ (ก.ย. 2563) สารวุฒิสภา <https://www.senate.go.th/assets/portals/93/fileups/253/

files/Analysis/63/963.pdf> สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2566.

ณิชาภา ภูมินายก, ‘สิทธิการสมรสของคนเพศเดียวกัน ควรเริ่มต้นจากศาลรัฐธรรมนูญหรือใคร’ (ศาล

รัฐธรรมนูญ, 3 สิงหาคม 2565) <https://shorturl.at/bcx09> สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2566.

พิมลพัชร์ อริยะฌานกุล, ‘คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 20/2564 วันที่ 17 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2564’

(2565) สรุปคำพิพากษาของศาล และผลการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่น่าสนใจ<https://shorturl.at/dqswO>

สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2566.

มาลี พฤกษ์พงศาวลี, ‘ความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย และความเสมอภาคระหว่างเพศ’ (สถาบันปรีดี พนมยงค์,

มิถุนายน 2566) <https://pridi.or.th/th/content/2023/06/1559> สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2566.

สุประวีณ์ อาสนศักดิ์, ‘กลไกกฎหมายไปสู่สมรสเท่าเทียม : ถอดบทเรียนจากคำวินิจฉัยรัฐธรรมนูญต่างประเทศ’

(สถาบันปรีดี พนมยงค์, 8 พฤษภาคม 2565) <https://pridi.or.th/th/content/2022/05/1084>

สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2566.

อภิวัฒน์ สุดสาว, ‘หลักความเสมอภาค ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย’ (ม.ค. - ก.พ. 2554) จุลนิติ

<https://shorturl.at/oyNX9> สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2566.

อัญชัน ทรงพุทธิ์, ‘ความเป็นมาของวันชาติสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)’ (Radio Taiwan International, 10 ตุลาคม

<https://th.rti.org.tw/news/view/id/2003272> สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาาคม 2566.

- ‘NCSD About Us’ (National Council for Sustainable Development) <https://ncsd.ndc.gov.tw/

Fore/en/Taiwansdg#U> accessed 7 September 2023.

- ‘The 17 Goals’ (United Nations) <https://sdgs.un.org/goals> accessed 7 September 2023.

- ‘The Taiwan Constitutional Court in a New Era’ (Judicial Yuan, 12 March 2021) <https://www.judicial.

gov.tw/en/cp-2083-358640-47e30-2.html> accessed 30 August 2023.

- ‘Wealth and Power: CHAPTER 6 A Sheet of Loose Sand: Sun Yat-sen 1866-1925’ (The Asia Society)

<https://sites.asiasociety.org/chinawealthpower/chapters/sun-yat-sen/> accessed 7 September

หนังสือ

ซุน ยัตเซ็น, ลัทธิไตรประชาและรัฐธรรมนูญ 5 อำนาจ (ปรีดี เกษมทรัพย์ ผู้แปล, ไทยวัฒนาพานิช 2530).

บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักกฎหมายมหาชน หลักนิติธรรม/นิติรัฐในฐานะ “เกณฑ์” จำกัดอำนาจรัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 3

วิญญูชน 2564).

บรรเจิด สิงคะเนติ, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ (พิมพ์ครั้งที่ 3 วิญญูชน 2563).

Chang-fa Lo, ‘Chapter 32 When Women’s Human Rights Encounter Tradition in Taiwan’ in

Jerome A. Cohen, William P. Alford and Chang-fa Lo (Eds) Taiwan and International

Human Rights: A Story of Transformation (Springer Nature Singapore Pte Ltd. 2019).

Hsiaowei Kuan, ‘Chapter 33 LGBT Rights in Taiwan—The Interaction Between Movements and

the Law’ in Jerome A. Cohen, William P. Alford and Chang-fa Lo (Eds) Taiwan and International

Human Rights: A Story of Transformation (Springer Nature Singapore Pte Ltd. 2019).

Hwang Jau-Yuan, ‘Judge-Made Constitutionalism in Democratizing Taiwan – The Role of the

Council of Grand Justices and Protection of Individual Rights’ in Japan Association for

Studies of Constitutional Law, Akira Osuka (ed) Perspective of Constitutionalism in Asia

(Shinzansha International 2003).

John Lawrence Hill, The Prophet of Modern Constitutional Liberalism : John Stuart Mill and

the Supreme Court (Cambridge University Press 2020).

Tzu-Ti Lin, Ming-Sung Kuo and Hui-Wen Chen, ‘Seventy Years On: The Taiwan Constitutional

Court and Judicial Activism in a Changing Constitutional Landscape’ (2018) 48 no. 3

Hong Kong Law Journal.

Wen-Chen Chang,‘Courts and Judicial reform in Taiwan : gradual transformations towards the

guardian of constitutionalism and rule of law’ in Jiunn-Rong Yeh and Wen-Chen

Chang (eds) Asian Courts in Context (Cambridge University Press 2015).