เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เขตบางเขน

ผู้แต่ง

  • กิตติศักดิ์ คงพูน หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • ปทุมรัตน์ พันธ์สุวรรณ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • วิชยานนท์ สุทธโส หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

เว็บไซต์, สื่อประชาสัมพันธ์, วัฒนธรรมท้องถิ่น, เขตบางเขน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เขตบางเขน และประเมินความพึงพอใจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และประชาชนทั่วไป โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 196 คน สถิติที่ใช้ในงานวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย (equation ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยผลการประเมินและทดสอบแบ่งตามหัวข้อ ดังนี้ (1) ความพึงพอใจในด้านเนื้อหา มีคุณภาพโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.41, S.D. = 0.47) (2) ความพึงพอใจในด้านการใช้สี มีคุณภาพโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.25, S.D. = 0.37) (3) ความพึงพอใจในด้านรูปแบบตัวอักษร มีคุณภาพโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.40, S.D. = 0.44) (4) ความพึงพอใจในด้านการใช้ภาพและภาพเคลื่อนไหว มีคุณภาพโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.23, S.D. = 0.45) (5) ความพึงพอใจในด้านระบบนำทางและการเข้าถึง มีคุณภาพโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.31, S.D. = 0.36) และพบว่า ด้านความพึงพอใจโดยรวมจัดอยู่ในระดับดี ( equation = 4.25, S.D. = 0.48) ข้อมูลภายในเว็บไซต์มาจากเว็บไซต์ทั่วไป ซึ่งเป็นการดึงข้อมูลภาพมาอยู่ในที่เดียว ทำให้เป็นทั้งผลดีและผลเสียในเวลาเดียวกัน เพราะด้วยข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาจากเว็บไซต์ทั่วไปทำให้ผู้ที่เข้าชมเว็บไซต์อาจได้พบเห็นหรือเคยอ่านบทความที่คล้ายคลึงกันมาก่อน แต่มีผลดีในด้านของการรวมเรื่องราวของเขตบางเขนไว้ในเว็บไซต์เดียว จึงทำให้ผู้ที่สนใจในภาพรวมมาดูที่เว็บไซต์นี้แค่เว็บไซต์เดียวแล้วได้ความรู้ทั้งหมด

References

ณิชนันทน์ จงใจสิทธิ์. (2560). การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์หมู่บ้านวัฒนธรรมไทดำ บ้านนาป่าหนาด ตำบลเขาแก้ว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(3), 33-47. https://hujmsu.msu.ac.th/Eng/pdfsplitE.php?p=MTU5OTAxNDAwNi5wZGZ8NDItNTY=

นริสรา ขำยิ่งเกิด, กานติมา สร้อยสัตย์, รัฐธรรมนูญ เรืองศรี, ชลลดา ม่วงธนัง, วิมลวรรณ วงค์ศิริ, เอ็ม สายคำหน่อ, ศุภรัตน์ แก้วเสริม และกัญญ์กุลณัช พีรชาอัครชัย. (2564). การสร้างสื่อออนไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิชาการแสงอีสาน, 18(1), 34-43.

ปิยะดนัย วิเคียน. (ม.ป.ป.). หลักการออกแบบเว็บไซต์. เรียน ICT ง่าย ง่าย สไตล์ครูปิยะดนัย. https://krupiyadanai.wordpress.com/บทเรียน-html/การออกแบบเว็บไซต์/

มลทิชา แจ่มจันทร์, จุไรรัตน์ กลัดหลำ, ปัถยา เพชรทิวานนท์, เพ็ญนภา เฟื่องแก้ว, รานี บุญใหญ่, รุ่งนิภา บินชัย และวรัญญา วงศ์จันทร์แย้ม. (2551). รายงานการวิจัยการจัดระบบข้อมูลด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนวัดเกาะ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

ลักษณา สตะเวทิน. (2542). หลักการประชาสัมพันธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง.

วิเชียร เกตุสิงห์. (2538). ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย: เรื่องง่าย ๆ ที่บางครั้งก็พลาดได้. ข่าวสารการวิจัยการศึกษา, 18(3), 8-11.

วิวัฑฒน์ สมตน และรัฐพล ประดับเวทย์. (2558). การพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 16(2). 85-92. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/48087

สุมนา บุษบก, ปวันนพัสตร์ ศรีทรงเมือง, อาณัติ รัตนถิรกุล และวรรษา พรหมศิลป์. (2563). การพัฒนาเว็บไซต์และสื่อมัลติมีเดียเพื่อเผยแพร่ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

อรวี บุนนาค. (2558). กลยุทธ์การนําเสนอสารประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในวันแห่งความรักของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 10(2), 34-46.

สุมาลี คัดสูงเนิน, ชัยภัทร สุพันพิม, รัตติยาพร พันธ์ภักดี, สโรชา ไชยสงค์, ศศิกานต์ ไพลกลาง และนงลักษ์ อันทะเดช. (2566). เว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ของดี๋ด่านเกวียน” สำหรับการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขายสินค้าชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการเพื่อการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่, 4(2), 30-48. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jsid/article/view/251792

อัศม์เดช เตชัสพิสิษฐ์, ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ และณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน. (2561). การพัฒนารูปแบบและเนื้อหาของเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในเขตอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 16(1), 183-192. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/mgsj/article/view/177179

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607–610. https://doi.org/10.1177/001316447003000308

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-21

How to Cite

คงพูน ก. ., พันธ์สุวรรณ ป., & สุทธโส ว. (2025). เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เขตบางเขน. วารสารวิทยสารสนเทศและเทคโนโลยี, 6(1), 15–28. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/jait_ssru/article/view/3968