โลหิตจางจากการขาดสารอาหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
โลหิตจางเนื่องจากการขาดสารอาหารมีสาเหตุหลายชนิด แต่ที่เป็นปัญหาทุพโภชนาการของแทบทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทย ได้แก่ การขาดเหล็ก การตรวจสอบภาวะโลหิตจางทางห้องปฏิบัติการทาได้ง่าย โดยการวัดความเข้มข้นของฮีโมโกลบินหรือฮีมาโตคริท แพทย์ทุกคนควรสนใจต่อปัญหาโลหิตจางเนื่องจากการขาดสารอาหารให้มากขึ้น และร่วมมือกันอย่างจริงจังในการขจัดปัญหานี้
Article Details
References
คณาจารย์ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2554). ตาราชีวเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 6. ขอนแก่น : หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
คณาจารย์ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2523). ชีวเคมี (ฉบับปรับปรุงใหม่). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศ.ส.การพิมพ์.
ชัยสิทธิ์ สิทธิเวช. (2557). ชีวเคมีทางการแพทย์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดาวัลย์ ฉิมภู่. (2558). ชีวเคมี. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีนัส ลีฬหกุล สุภานี พุทธเดชาคุ้ม และถนอมขวัญ ทวีบูรณ์. (2545). โภชนศาสตร์ทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บุญศิริการพิมพ์.
สุนีย์ สหัสโพธิ์. (2554). ชีวเคมีทางโภชนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้งติ้งเฮ้าส์.
. (2564). โภชนบำบัด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สุนีย์ สหัสโพธิ์ และจักรกฤษณ์ ทองคา. (2564). โภชนาการพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีย์ วัลยะเสวี และคณะ. (2502). โรคโภชนาการ. กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
Schiff, W.J.Z. (2018). Nutrition Essentials. New York : McGraw-Hill.
Stephens, T.J. and Wendy J.S. (2016). Human Nutrition. New York : McGraw-Hill.