การประดิษฐ์โคมศรีล้านนาด้วยเทคนิคการร้อยลูกปัด

Main Article Content

ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ
พชรพงษ์ โพธิ์น้อย
ชัชฎา จุ่มก๋า

บทคัดย่อ

การศึกษาการประดิษฐ์โคมศรีล้านนาด้วยเทคนิคการร้อยลูกปัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการประดิษฐ์ และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อการกระบวนประดิษฐ์ โดยศึกษา และรวบรวมข้อมูลทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ และวัฒนธรรม มาออกแบบ โครงร่างโคม เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ และกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสารวจระดับความพึงพอใจต่อโคมศรีล้านนา จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้พบว่าผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ และกลุ่มเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจด้านผลิตภัณฑ์คือ 4.40 (มาก) ด้านการใช้ประโยชน์คือ 4.43 (มากที่สุด) ด้านความเหมาะสมของราคาคือ 3.63 (มาก) และด้านช่องทางการจาหน่ายคือ 3.84 (มาก)

Article Details

How to Cite
หงส์รัตนาวรกิจ ศ. ., โพธิ์น้อย พ. ., & จุ่มก๋า ช. . (2022). การประดิษฐ์โคมศรีล้านนาด้วยเทคนิคการร้อยลูกปัด. วารสารคหกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน, 1(1), 22–32. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/hecrmutp/article/view/4367
บท
บทความวิจัย

References

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2527). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ลักษณ์.

สุริยพันธุ์ ยอดดี จตุรงค์ เลาหเพ็ญแสง และอุดมศักดิ์ สาริบุตร. (2553). การศึกษาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมโคมศรีล้านนา จังหวัดลาปาง. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 13, 89-96.

อานนท์ พรหมศิริ. (2555). การศึกษาโคมผัดล้านนาสู่การออกแบบศูนย์นาฏกรรมแสงเงาร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน, มหาวิทยาลัยศิลปากร.