ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ (หลักสูตร 5 ปี) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีการศึกษา 2566

Main Article Content

สุชาติ หอมจันทร์
กระพัน ศรีงาน
พัชนี กุลฑานันท์
วนิดา หอมจันทร์

บทคัดย่อ

This research aimed to study and create predictive equations for factors affecting the decision to enter a bachelor's degree in the Faculty of Education (5-year program), Buriram Rajabhat University in academic year of 2023. The sample used in this research was 225 first-year students in the Faculty of Education, obtained by group randomization. The predictors consisted of family expectations, the reception of society and career, physical characteristics, reputation and values, curriculum, guidance, and motivation for achievement; whereas the criteria variable was the decision to enter the Faculty of Education bachelor's degree (5-year program) at Buriram Rajabhat University. The data collection tool was a 5-level estimation scale questionnaire analyzing data by determining percentage, mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient, and multiple regression analysis. The results showed that predictive variables can be used to predict admission decisions to the Faculty of Education (5-year program), Buriram Rajabhat University Academic Year 2023 consisted of factors; guidance (X6), motivation for achievement (X7) and physical characteristics (X3). When entering the regression equation, the multiple correlation coefficient was 0.697 and the prediction coefficient of 48.60% (R2 = 0.486) was statistically significant at the level of .01.


          Forecast equation in raw score


                    Y′ =  0.683 + 0.341X6 + 0.2181X7  + 0.179X3 


          Forecast equation as normalized score


                   Z′Y    =  0.473ZX6 + 0.184ZX7 + 0.171ZX3 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

สุชาติ หอมจันทร์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

BRU

References

กิตติชัย เกษมศานติ์. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกมหาวิทยาลัยรัฐบาลของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร (Factors Influencing Bangkok’s High School Students to Study in Public Universities). วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.16. 189-202.

ไกรสิงห์ สุดสงวน.(2560). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal Silpakorn University. 10(1), 201-027.

จำลอง นามูลตรี. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาต่อของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพมหานคร.

ชัยพร จูผลดี. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการเลือกเรียนระดับอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กรณีศึกษาในจังหวัดนนทบุรี. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กรุงเทพมหานคร.

ธนภาพ สอนดี. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรีของคณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ. 2(2), 59-64.

นิชานันท์ ปักการะนา. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลและแนวทางส่งเสริมการศึกษาต่ออาชีวศึกษา : การวิจัยผสานวิธี. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). (2565, 1 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 (ตอนพิเศษ 258 ง), หน้า 12.

วิทวัส เหล่ามะลอ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อ การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปีการศึกษา 2562 โดยผ่านการคัดเลือกด้วยระบบ TCAS (รายงานการวิจัย).ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศศิวิมล แสนเมือง. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตั้งใจเลือกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีของ นักเรียนที่มีผลการเรียนดีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ กจ.ม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาและเข้าสู่ตลาดแรงงาน จำแนกตามระดับการศึกษา พ.ศ. 2553-2561 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. [ออนไลน์]. ได้จาก : https://www.m-society.go.th/article_attach/19451/20726.pdf. [สืบค้นเมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2566].

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (30 มีนาคม 2565). สถิติการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2566, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/03.aspx

อลงกรณ์ อัมมวงศ์จิตต์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ที่วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร.

Admission Premium. (14 กุมภาพันธ์ 2562).จำนวนรับ TCAS ปีการศึกษา2562. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2566 จาก https://www.admissionpremium.com/content/4515 . (6 ธันวาคม 2563). จำนวนรับ TCAS ปีการศึกษา 2563. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม

จาก https:// ww.admissionpremium.com/content/5271. (22 ธันวาคม 2564). จำนวนรับ TCAS ปีการศึกษา 2564. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม

จาก https://www.admissionpremium.com/content/5880

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. et al. (2010). Multivariate Data Analysis(7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Kohn, P.R. (2000). Vocation Identity, Field of Study and College Choice. United State Arizona. Dissertation Abstracts International, 61(03), 879-A, September.

Ming, J. S. K. (2010). Institutional factors influencing students' college choice decision in Malaysia: A conceptual framework. International Journal of Business and Social Science, 1(3).

Pallant, Julie F. (2005). SPSS survival manual : a step by step guide to dataanalysis using SPSS. 2nd ed.Crows Nwst, N.S.W. : Allen & Unwin. Tabachnick, B.G., & Fidell, L.S. (2001). Using multivariate statistics. 4th ed. New York : Harpercollins.