การพัฒนากระบวนการการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและบ่มเพาะพลเมืองสร้างสรรค์ กรณีศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดลำาปาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1)วิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียน รู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เสนอ แนะแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมและ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างประสบการณ์ชีวิตและบ่มเพาะความเป็นพลเมืองสร้างสรรค์ ปัญหาสำาคัญ ของการศึกษาเพื่อสร้างความพลเมือง คือ รัฐหลีกเลี่ยงที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับการเมืองในฐานะเครื่องมือ ในการจัดสรรอำานาจและทรัพยากรในระบอบประชาธิปไตย แต่กลับมุ่งเน้นที่จะสร้างพลเมืองดีที่เน้น การเชื่อฟังรัฐ และจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ วิชาหน้าที่พลเมืองและวิชาที่เกี่ยวข้องจึงถูกสร้าง ขึ้นมาเพื่อสร้างพลเมืองที่พึงประสงค์ที่ไม่ได้สัมพันธ์กับวัฒนธรรมประชาธิปไตยอย่างที่ควรจะเป็น ข้อเสนอของงานวิจัยนี้มีสองระดับนั่นคือ ระนาบการเมืองของโรงเรียนและนโยบายของรัฐทั้งจาก ส่วนกลางและท้องถิ่นที่ต้องปรับความสัมพันธ์เชิงอำานาจให้ยึดโยงคุณค่าประชาธิปไตยสากลมากขึ้น และระนาบการเมืองของรายวิชา ควรลดจำานวนวิชาที่เนื้อหาซ้ำาซ้อนและเปิดพื้นที่เชื่อมโยงกับสังคมโลก ที่กว้างขวางมิใช่เป็นเพียงการหมกมุ่นอยู่กับความคับแคบภายในแต่ละวิชา
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤษณา สินไชย, รัตนา ฦาชาฤทธิ์. (2520). ความเป็นมาของแบบเรียนไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กรมวิชาการ. (2510). แบบเรียนสังคมศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ทั่วไป ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายของกระทรวงศึกษาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กรมวิชาการ. (2533). หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
กรมวิชาการ. (2541). หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04008/ว1259 เรื่อง หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti–Corruption Education). กรุงเทพฯ: กระทรวง
ศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ สธ 04010/ว779 เรื่องแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และ
หน้าที่พลเมือง. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ศธ 04010/ว1324 เรื่องแนวปฏิบัติเกี่ยวกับค่านิยม 12 ประการสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: กระทรวง
ศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04188/ว851 เรื่อง การจัดกิจกรรมเนื่องในวันพระราชทางธงชาติไทยและครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย.กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04010/ว1239 เรื่อง แจงแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). หนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำานักนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ ศธ 0208/5790 เรื่อง รายงานการดำาเนินงานขับเคลื่อนค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการสู่การปฏิบัติ ประจำาปี พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2560. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การเพิ่มวิชาหน้าที่พลเมืองเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในหลักสูตรแกนกลางสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2557. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2509). ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วย การปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ.2509. ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 84 ตอนที่ 9, 27 มกราคม 2510. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
ธีรภัทร กุโลภาส. (2561). การพัฒนาคู่มือการบริหารงานสภานักเรียนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
ประสาท หลักศิลา. (2501). หนังสือชุดประวัติศาสตร์มัธยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
ประสาท หลักศิลา. (2497). หนังสือชุดประวัติศาสตร์มัธยมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
พงษ์ลิขิต เพชรผล. (2559). การนำเสนอกลยุทธการบริหารห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของความเป็นพลเมือง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษาภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2507. ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 81 ตอนที่ 8,23 มกราคม 2507, น.พิเศษ 4 _____. (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2528, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 102 ตอนที่ 154, 24 ตุลาคม 2528.
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2561).พงศาวดารอาเซียนในแบบเรียนประวัติศาสตร์มัธยมไทย: ประวัติศาสตร์สำเหนียก. กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์มติชน.
เมืองชัย ทาเจริญศักดิ์. (2506). การสำารวจความรู้และทัศนคติด้านศีลธรรมและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 ในโรงเรียนในโครงการกรุงเทพฯ-ธนบุรี ปีการศึกษา 2505. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒิ, กรุงเทพฯ.
สภากาชาดไทย. (2513). ข้อบังคับสภากาชาดไทยแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 9) พุทธศักราช 2508, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 87 ตอนที่ 11, 10 กุมภาพันธ์ 2513. กรุงเทพฯ: สภากาชาดไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รายงานการวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2562). คำาสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช.ที่ 646/2560, เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทำาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือหลักสูตรต้านทุจริต. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
สุรพล จิตต์อำไพ. (2527). รูปแบบของกิจกรรมโรงเรียนประถมศึกษาที่จัดกิจกรรมดีเด่น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาประถมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ศิริโชค อภิภัชผ่องใส. (2562).พัฒนาการแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยระดับชั้นมัธยมศึกษา (พ.ศ.2521-2560). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
อรวรรณ พนาพันธ์. (2529). การจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชามัธยมศึกษา.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
กระทรวงศึกษาธิการ. สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนนโยบายการสร้างค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการสู่การปฏิบัติ. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องประชุมโกวิท วรพิพัฒน์ กระทรวงศึกษาธิการ.สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2562, จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=39337&Key=news_boontee
ประภัสสรา โคตะขุน. ตัวอย่างงานวิจัยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2560, จาก https://sites.google.com/site/prapasara/1-6
ครูผู้สอนในกลุ่มสาระสังคมศึกษา นามสมมติ ก, สัมภาษณ์ วันที่ 26 เมษายน 2563
ครูผู้สอนในกลุ่มสาระสังคมศึกษา นามสมมติ จ, สัมภาษณ์วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 และ 4 เมษายน 2564
ครูผู้สอนในกลุ่มสาระสังคมศึกษา นามสมมติ บ, ครู นามสมมุติ น, สัมภาษณ์ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563 และ 4 เมษายน 2564 .
ครูผู้สอนในกลุ่มสาระสังคมศึกษา นามสมมติ อ, สัมภาษณ์วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 และ 4 เมษายน 2564