ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนรายวิชาความรู้เบื้องต้นทางประชากรศาสตร์ในห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม MS TEAMS

Main Article Content

อัลญาณ์ สมุห์เสนีโต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม Microsoft Teams และเพื่อสืบค้นพฤติกรรมของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอน รวมถึงเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม Microsoft Teams เก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาความรู้เบื้องต้นทางประชากรศาสตร์ เครื่องมือ ได้แก่ โปรแกรม Microsoft Teams แบบประเมินการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม Microsoft Teams และแบบประเมินพฤติกรรมของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอนและวิเคราะห์ด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิเคราะห์ด้วยสถิติ Dependent t-test ผลการศึกษาพบว่า แม้ว่าผู้เรียนจะใช้มือถือสมาร์ทโฟนในการเรียนและมีปัญหาใน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และสัญญาณอินเตอร์เน็ต และคะแนนความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม MS Teams อยู่ในระดับปานกลางเท่านั้น และผู้เรียนคิดว่าควรมีการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนจริงมากกว่า อย่างไรก็ตามผู้สอนสังเกตพบว่า ในห้องเรียนเสมือนพบว่า ผู้เรียนได้แสดงออกถึงการช่วยเหลือเพื่อนในชั้นเรียน มีความสนใจกระตือรือร้นในการตอบคำถาม และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนยิ่งไปกว่านั้นพบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้น และบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชา

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
สมุห์เสนีโต อ. (2022). ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนรายวิชาความรู้เบื้องต้นทางประชากรศาสตร์ในห้องเรียนเสมือนด้วยโปรแกรม MS TEAMS. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(2), 209–221. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/262
บท
บทความวิจัย

References

กชพรรณ นุ่นสังข์, วิภาวรรณ ชะอุ่ม เพ็ญสุขสันต์, สายฝน เอกวรางกูร. (2562). การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดสำาหรับมหาชน (MOOC) ในรายวิชาจิตวิทยาพัฒนาการวัยสูงอายุ และจิตวิทยาพัฒนาการวัยรุ่น. Walailak Procedia 2019; (8). การประชุมวิชาการระดับชาติ สารสนเทศศาสตร์ วิชาการ ครั้งที่ 1 วันที่ 25-26 มิถุนายน 2562.

ชโรชีนีย์ ชัยมินทร์. (2562). MOOC: เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 1(1): 46-70.

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). โครงการตำาราอีเลิร์นนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย อีเลิร์นนิง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ e-Learning: from theory to practice. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ณวัฒน์ นันทะเสน และรักถิ่น เหลาหา. (2561). รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยเว็บเควสท์ โดยใช้ห้องเรียนเสมือนจริงร่วมกับโครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

เดชดนัย จุ้ยชุม และคณะ. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ทักษะการคิดของนักศึกษาในรายวิชาทักษะการคิด (Thinking Skills) รหัสวิชา 11-024-112 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning). วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 47-55.

นีรนาท จุลเนียม. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนร่วมกับสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 7(2), 319-334.

วริศา วรวงศ์, พูลทรัพย์ ลาภเจียม, วราภรณ์ บุญยงค์. (30 ธันวาคม 2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียนรายวิชาการพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 1. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สาขาภาคเหนือ, 25(2), 13-25. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2564, จาก http://www.natnorth.org/index.php?op=journal

วิทยา วาโย อภิรดี เจริญนุกูล ฉัตรสุดา กานกายันต์ จรรยา คนใหญ่. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19: แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 14(34), 285-298.

ศราวุธ เรืองสวัสดิ์, ปภาสินี แซ่ติ๋ว, ปิยะรัตน์ ชูมี. (2563). ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานต่อทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุราษฎร์ธานี. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 235-244.

สำานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: สำานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

Bonwell, C.C. & Eison, J.A. (1991, December 11). Active Learning: Creating Excitement inthe Classroom. Retrieved July 15, 2021, from https://eric.ed.gov/?id=ED336049

Friel, L.L. (2000, October 12). The Information research process with low-achieving freshmen using Kuhlthau’s Six-Stage Model. Retrieved June 6, 2021, from http://ala.org/aasl/SLMR/diss_grover1.html

Gedera, Dillani, S.P. (2014). Students’ experiences of learning in a virtual classroom. International Journal of Education and Development using Information and Communication Technology (IJEDICT), 10(4), 93-101.

Hadley, N.J. (1998, April 15). The Effects of technology support system on achievement and attitudes of preservice teacher. Retrieved July 15, 2021, from https://www.proquest.com/docview/304461009?accountid=28431

Hussin WNTW, Shukor HJ, Shukor NA. (2019). Online interaction in social learning environment towards critical thinking skill: A framework. Journal of Technology and Science Education, 9(1), 4-12.

Poston, Janice; Apostel, Shawn; and Richardson, Keith. (2020, June 15) “Using microsoft teams to enhance engagement and learning with Any Class: It’s Fun and Easy”. Pedagogicon Conference Proceedings. 6. Retrieved October 15, 2021, from https://encompass.eku.edu/pedagogicon/2019/guidinggrading/6

Relan, A.and Gillani, B.B. (1997, December 15). Web-based information and the traditional classroom: Similarities and differencee. In khan, B.H., (Ed). Web-Based Instruction. Englewood Cliffs. New Jersey: Educational Technology Publications. Retrieved July 15, 2021, from https://www.kroobannok.com/133