การพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธี ADSAC ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD)

ผู้แต่ง

  • ปริวรรต ดำนุ้ย นิสิตสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลับทักษิณ
  • กิตติรัตน์ เกษตรสุนทร อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • นิธิกร ธรรมขันธ์ อาจารย์ ภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • สุนิษา ชายใหม่ ครูกลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย

คำสำคัญ:

ทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์, กลวิธี ADSAC, การเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD)

บทคัดย่อ

การการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธี ADSAC ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) เปรียบเทียบคะแนนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 0.70 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จำนวน 40 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้วิธีการจับสลาก สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ คะแนนความก้าวหน้า ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย พบว่า 1) คะแนนเฉลี่ยทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD)
( equation = 38.71 , S.D. = 4.36) คิดเป็นร้อยละ 77.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 2) ความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของนักเรียน (Normalized gain) เท่ากับ 0.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 0.70 ขึ้นไป 3) ความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ( equation= 4.80, S.D. = 0.44)

References

Chonchob, A. (2006). Development of learning achievement in physics and ability to solve physics problems of Mathayom 4 students using inquiry-based teaching methods by enhancing problem-solving according to Polya's technique [Master's thesis, Burapha University]. (In Thai)

Dechakup, P. (2001). Learner-Centered Teaching: Concepts, Methods, and Teaching Techniques 2. The Master Group Management Company Limited. (In Thai)

Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2008). Organization of Science Learning Group in Basic Education Curriculum. Ministry of Education Press. (In Thai)

Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2010). Additional Subject Textbook, Physics, Mathayom 4-6. SKK Ladprao. (In Thai)

Khammanee, T. (2007). Teaching Models: A Variety of Options. Chulalongkorn University Press. (In Thai)

Lertyaso, N. (2010). Development of prose writing skills using collaborative teaching, CIRC technique, and writing exercises for Mathayom 1 students [Master of Education Thesis, Silpakorn University]. (In Thai)

Limsiri, A. (2013). Innovation and Technology Management (6th ed.). Department of Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Ramkhamhaeng University. (In Thai)

Loifa, S. (1994). Teaching Documents for Subject 215713 Problems and Methods in Teaching Mathematics. Faculty of Education, Khon Kaen University. (In Thai)

Maensonwan, S. (2013). Mathematics Teaching Behavior 2 (2nd ed.). Ramkhamhaeng University. (In Thai)

Ministry of Education. (2008). Basic Education Core Curriculum B.E. 2551. Ministry of Education Press. (In Thai)

Naw Yenphon, P. (1994). “Solving Mathematical Problems,” in Collection of Subjects of Mathematics and Methods, Units 12-15. Sukhothai Thammathirat Open University. (In Thai)

Orcharee Na Takuatung. (2002). The best development of teaching and learning. Expert Netbooks. (In thai)

Paladprom, A. (2019). STAD collaborative learning management focusing on the use of agents to promote learning achievement and mathematical problem-solving ability on the subject of relationships and functions of Mathayom 4 students. Academic Journal. 12(4): 1906 – 3431. (In Thai)

Phakdeebun, K. (2014). A comparison of learning achievement in mathematics on the subject of linear equation systems of Mathayom 3 students between learning management using Polya's problem-solving process and 7-step inquiry learning management (7E) [Master of Science Thesis, Burapha University]. (In Thai)

Polya, G. (1957). How To Solve It A New Aspect of Mathematical Method. Doubleday. (In Thai)

Suwan, S. (2011). Development of the Ability to Solve Fraction Problems Using Polya’s Problem-Solving Process For Grade 6 students of Lamphun Kindergarten School [Master of Education Thesis, Chiang Mai University]. (In Thai)

Suwannahitat, C. (2020). Development of problem-solving skills with ADSAC strategies. (Classroom research). Klong Yai Wittayakhom School. (in Thai)

Thipkong, S. (2001). Research on Mathematics Teaching, Academic Year 1978-1999. Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04/16/2025

How to Cite

ดำนุ้ย ป., เกษตรสุนทร ก., ธรรมขันธ์ น., & ชายใหม่ ส. (2025). การพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธี ADSAC ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD). วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการศึกษา, 1(2), 31–44. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JISSE/article/view/6005

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research article)