การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกสี่ภาค อำเภอพบพระ จังหวัดตาก
คำสำคัญ:
บรรจุภัณฑ์, ตราสินค้า, น้ำพริกสี่ภาค อำเภอพบพระ จังหวัดตากบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ของเยาวชนในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 2) ความสนใจของเยาวชนในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และ 3) เปรียบเทียบการรับรู้ของเยาวชนกับความสนใจในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรีของสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความ ถี่ ร้อยละ Factor Analysis และ IPA ผลการวิจัย พบว่า เยาวชนมีการรับรู้และความสนใจกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 9 ด้าน ได้แก่ การทดลองทำงานหัตถกรรมพื้นบ้าน การทดลองทำงานหัตถกรรมประณีตศิลป์ที่ใช้ฝีมือการทำเครื่องประดับจากโลหะมีค่า การเรียนรู้วิถีชีวิตด้านการประกอบอาชีพด้วยการลงมือปฏิบัติการเจียระไนหิน และการทอผ้าพื้นเมือง การย้อมสีผ้าด้วยโคลน การทำอาหารพื้นเมือง การทำผ้าห่มและการฝึกการนวดแผนไทย และการทำอาหารพื้นบ้านเฉพาะถิ่น และส่วนใหญ่เยาวชนมีการรับรู้และสนใจต่อกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ได้แก่ อาหารพื้นบ้าน ศิลปะหัตถกรรมพื้นเมือง วัฒนธรรมท้องถิ่น และประวัติศาสตร์ของชุมชน แสดงว่าแหล่งท่องเที่ยวสามารถตอบสนองได้เป็นอย่างดีในกิจกรรมที่เยาวชนมีการรับรู้มาก ดังนั้น แหล่งท่องเที่ยวต้องรักษาคุณภาพให้อยู่ในระดับสูงต่อไป ไม่จำเป็นต้องโฆษณาหรือส่งเสริมเพราะเยาวชนรู้จักดีและสนใจมาก
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2560). ความสำคัญของการสร้างมูลค่าเพิ่ม.จากหนังสือคู่มือการพัฒนามูลค่าเพิ่ม.
กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2561). การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. เข้าถึงได้จาก https://smce.doae.go.th/aboutus.php.
ทักษิณา สุขพัทธี และ กนกนันท์ อ่อนโพธิ์เตี้ย. (2558). การออกแบบบรรจุภัณฑ์เค้กมะพร้าวน้ำหอมของดีของเด่นสินค้าโอท๊อปจังหวัดนครปฐม. สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, กรุงเทพมหานคร.
พิมพา หิรัญกิตติ. (2552). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร จำกัด.
มนันยา นันทสาร เกศจิตต์ ขามคุลา ธนิษนันท์ บุญศรีชนะ. (2564). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์มะม่วงมหาชนกแปรรูปเชิงพาณิชย์ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม.มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ยรรยง สินธุ์งาม. (2553). การออกแบบบรรจุภัณฑ์ Packing Design เพิ่มมูลค่าให้สินค้า ดึงดูดใจผู้ซื้อ. หลักทั่วไปในการออกแบบบรรจุภัณฑ์.
วรรณีแกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตนวารี นันท์ชัยพฤกษ์. (2560). การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ภายใต้แบรนด์ Amery. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2560.
วิวัฒน์ จันทร์กิ่งทอง ยรรยง คชรัตน์ นธี เหมมันต์ จุฑามาศ พรหมมนตรี นิศาชล สกุลชาญณรงค์ และฐานันท์ ตั้งรุจิกุล. (2557). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และป้ายฉลากเครื่องแกงตำมือ บ้านทุ่งชุมพลพัฒนา ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ศุรีพร คำชมภู. (2561). การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของฝากเชิงท่องเที่ยวในประเทศญี่ปุ่น .วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561), 185.
สุมาลี ทองรุ่งโรจน์. (2555). การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์.
อนุรักษ์ อาทิตย์กวิน และคณะ. (2562). การสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเซรามิกด้วยวิธีการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อโอกาสทางการแข่งขันของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อม ประเภทของใช้ ของตกแต่ง และของที่ระลึกใน จังหวัดลำปาง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 12(1), 1-12.
เอกชัย โถเหลือง และจันทร์ประภา พ่วงสุวรรณ. (2550). การใช้สีในบรรจุภัณฑ์สินค้า OTOP ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค. สาขาเทคโนโลยีการพิมพ์คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อัรฮาวี เจ๊ะสะแมและ ยอดนภา เกษเมือง. (2564). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนปุรณาวาส เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 15(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2564.
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques (3rd ed.). New York : John Wiley & Sons Inc.
Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R., & Tatham, R. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). Upper Saddle River, NJ : Pearson Prentice Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.