ประสิทธิผลการจัดการเครือข่ายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลตำบลบ้านแท่น อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ

ผู้แต่ง

  • อภิชิต ดวงธิสาร วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • ธวัฒน์ เขตจัตุรัส วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • ดิเรก ถึงฝั่ง วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น

คำสำคัญ:

ประสิทธิผล, การจัดการเครือข่าย, งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

บทคัดย่อ

        การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ประสิทธิผลการจัดการ ปัญหาและการจัดการเครือข่ายงานป้องกันและบรรเทางานสาธารณภัยเทศบาลบ้านแท่น อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตเทศบาลบ้านแท่น อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิในชุมชน 18 ชุมชน จำนวน 387 ราย ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างซึ่งทำการคัดเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงจากผู้รับบริการจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานร่วมกันและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการดำเนินงานและความเชื่อมั่นในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยระดับความคิดเห็นการวัดประสิทธิผลในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก (gif.latex?\dpi{100}&space;\fn_jvn&space;\small&space;\bar{x} = 3.63, S.D.= 0.29) โดยให้ความสำคัญเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่าย (gif.latex?\dpi{100}&space;\fn_jvn&space;\small&space;\bar{x} =3.69, S.D.= 0.76) การมีผลประโยชน์และความสนใจร่วมกัน (gif.latex?\dpi{100}&space;\fn_jvn&space;\small&space;\bar{x} = 3.68,S.D. = 0.73) การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (gif.latex?\dpi{100}&space;\fn_jvn&space;\small&space;\bar{x}= 3.74, S.D.= 0.74) และการรับรู้มุมมองร่วมกัน (gif.latex?\dpi{100}&space;\fn_jvn&space;\small&space;\bar{x} = 3.67,S.D. = 0.71) ตามลำดับ แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการ จัดการปัญหาและการจัดการเครือข่ายงานป้องกันและบรรเทางานสาธารณภัย มุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับคนในพื้นที่และการทำงานที่มุ่งเน้นที่ตัวบุคคลฝึกปฏิบัติจนสามารถพึ่งพาตนเองและเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้อีกทั้งยังเป็นกำลังเสริมให้เข้าที่เมื่อเกิดภัยต่าง ๆ

References

ข้อมูลจากเทศบาลนตำบลบ้านแท่น. (2562). รายงานการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลตำบลบ้านแท่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.banthaenlocal.go.th/main.php [25 มกราคม 2563].

จิรนนท์ พุทธา และจำลอง โพธิ์บุญ. (2561). การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต, 19(1), 31-44.

จิตติมา อัครธิติพงศ์. (2556).การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. พระนครศรีอยธุยา : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุยา.

เจริญ ภัสระ. (2540, พฤษภาคม). การมีสวนรวมของประชาชนในการดำเนินงานของรัฐ. วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตรแหงประเทศไทย, 12,11-14.

ชาติชาย ณ เชียงใหม่. (2560). การปกครองท้องถิ่นในรัฐธรรมนูญ 2560. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: จาก http://www.nmt.or.th/files-com_knowledge_news/201711/20171117_vebjunlj.pdf. [25 มกราคม 2563].

ชัยวัฒน์ สวัสดิเวช. (2553). ปัญหาอุปสรรคและแนวทางพัฒนาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดภูเก็ต . วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิทักษ์ มั่นจันทึก และศุภณัฏฐ์ ทรัพย์นาวิน. (2558). กลยุทธ์การบริหารด้านการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. Veridian EJournal, Slipakorn University. 8(2), 2351-2368.

วิทวัส ขุนหนู. (2561). การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการป้องกันอุทกภัย กรณีศึกษาอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารปาริชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 31(1), 163-181.

วุฒิชัย จำนง. (2530). การผสานการปฏิบัติการเพื่อผลิตภาพ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 : เมษายน.

อดิศร บำรุงญาติ. (2550).การมีสวนรวมของอาสาสมัครป้องกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยศึกษากรณีของอำเภอเขาสมิงจังหวัดตราด. รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

John Ditch. (2002). Beveridge and Social Security. New York : Oxford University.

Henri Fayol. (1964). General and Industrial Management. London : Pittman and Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-03-2023