แนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดกิจกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรสงคราม
คำสำคัญ:
กิจกรรมเชิงวัฒนธรรม, การจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม, การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดกิจกรร มแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเพื่อหาแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้านการจัดกิ จกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรสงคราม ประชากร คือ ผู้นำชุมชนที่เกี่ยว ข้องการจัดกิจกรรมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดสมุทรสงคราม 10 แห่ง ที่มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ที่เกี่ยว ข้องด้านจัดกิจกรรมวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยว 72 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา จากผลวิจัยพบว่านักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นต่อลักษ ณะการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านการจัดกิจกรรมการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสมุท รสงคราม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ในลักษณะกิจกรรมต้อนรับและนักท่องเที่ยวเข้ามาสัมผัสวิถีชีวิตแบบแท้จริงในชุมชน การแสดงพื้นบ้านที่น่าประทับใจแต่ละแหล่งท่องเที่ยว และการบริการอาหารพื้นเมืองที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของพื้นที่ในระดับมากที่สุด สำหรับแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภายในจัง หวัดสมุทรสงคราม พบว่า 1)การออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน 2)การนำวิสัยทัศ น์และทิศทางการบริหารแหล่งท่องเที่ยว 3)จัดกิจกรรมเส้นทางวิถีชุมชนเน้นการนำเสนอผลิ ตภัณฑ์ชุมชน
References
กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). ข่าวจากเว็บไซด์. ค้นเมื่อ 4 เมษายน 2557 จาก http://www.mculture.go.th/samutsongkhram.
กัญญามน อินหว่างและคณะ. (2554). แนวทางการพัฒนานวัตกรรมแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดพิษณุโลก. ทุนสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยพิษณุโลก.
________. (2556). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดพิษณุโลก. ทุนสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยพิษณุโลก.
กันทิมา จินโต. (2550) ศักยภาพของชุมชนย่านคลองด าเนินสะดวกในการจัดการท่องเที่ยวแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (Home stay). ปริญญานิพนธ์ วท.ม (การวางแผนและ การจัดการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, กรุงเทพ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
ปวีณา ทองบุญยัง(2556). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านบาก ตำบลบ้านบาก อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 มีนาคม-เมษายน 2556).
เปรมชญา ชนะวงศ์และคณะ. (2553). การพัฒนาศักยภาพชุมชนบนเพื่อการพึ่งตนเองบนฐานทุนทางสังคม. มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.
นงลักษณ์ จันทาภากุล และนรินทร์ สังข์รักษา. (2556). การศึกษาศักยภาพในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหัวเขาจีน จังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยบริการ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2556.
ยลรวี สิทธิชัย. (2552). Celebrity Endorsement ขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยววันที่ค้นข้อมูล 20 กรกฎาคม 2554, จาก จุลสารท่องเที่ยว ฉบับที่ 4/2552 ตุลาคม-ธันวาคม 2552.
วิไลลักษณ์ น้อยพยัคฆ์. (2551). นวัตกรรมการท่องเที่ยว. วันที่ค้นข้อมูล 20 กรกฎาคม 2554, จากจุลสารท่องเที่ยว ฉบับที่ 2/2551 เมษายน – มิถุนายน 2551.
สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว.(2550). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยว.กรุงเทพฯ : กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
แสงแข บุญศิริ. (2557). มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว. กรมท่องเที่ยวและสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อัจฉรา หลาวทอง. (2555). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมการพัฒนาและการจัดการกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติอย่างยั่งยืน กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
อุดม สมบูรณ์ กัญญามน อินหว่างและคณะ. (2558). รูปแบบการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสมุทรสงคราม. ทุนสนับสนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. เอกสารการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2551).
Chanya Tansakul and Kanyamon Kanchanathaveekul. Developing personnel competence in tourism and hospitality industry under ASEAN framework of small and medium enterprises in Phuket, Thailand, 2019 APacCHRIE & EuroCHRIE Joint Conference (22- 25 May 2019, Hong Kong).
Choibamroong, Therdchai. (2009). Agricultural Resources Research for Sustainable Agro–tourism: A Case Study of Surat Thani,Thailand.Bangkok: The Thailand Research Fund.
Choibamroong, Therdchai. (2010). On Roles of the Local Administrations of Thailand in Developing Tourism under the Economic Sufficiency Theory.Bangkok: King Prajadhipok’s Institute.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.