ความสำเร็จชุมชนท่องเที่ยวโดยการจัดการการท่องเที่ยวผ่านแนวคิดการมีส่วนร่วม
คำสำคัญ:
การบริหาร, งานงบประมาณ, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสังเคราะห์วรรณกรรมในประเด็นที่เกี่ยวข้อง และ (2) เพื่อสร้างกรอบแนวคิดความสำเร็จชุมชนท่องเที่ยวโดยใช้การจัดการการท่องเที่ยวผ่านแนวคิดการมีส่วนร่วม โดยใช้การวิเคราะห์และสังเคราะห์จากวรรณกรรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งงานวิจัยทั้งไทยและต่างประเทศจนได้ประเด็นสำคัญสามารถสรุป กรอบแนวคิดความสำเร็จชุมชนท่องเที่ยว โดยใช้การจัดการการท่องเที่ยวผ่านแนวคิดการมี ส่วนร่วม โดยผลการศึกษา พบว่า การจัดการการท่องเที่ยว มีองค์ประกอบ คือ ด้านการวาง แผน ด้านการจัดการ ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านการตลาด ด้านการสร้างภาพลักษณ์และ ด้านการจัดสรรผลประโยชน์ส่วนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน มีองค์ประกอบ คือ ร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมแบ่งปันผลประโยชน์ และร่วมติดตามประเมินผลซึ่งเป็นประโยชน์ต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคชุมชน ได้นำแนวคิดการสังเคราะห์เชิงบูรณาการไปปรับใช้ เพื่อการวางแผนการปรับเปลี่ยนกลยุทย์การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม และเป็นแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวโดยใช้บริบทพื้นที่ชุมชนเป็นตัวตั้ง เพื่อรองรับนโยบายการเปลี่ยน แปลงในการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และความมีสันติสุขในพื้นที่อย่างสมดุลและยั่งยืน
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558 – 2560. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
จรัญญา คงเพชร. (2563). ความสำเร็จการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษา ตลาดน้ำท่าคา จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร. 23(2), 42-51.
ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 13(2), 25-46.
ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน. (2551). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็น เพรส.
ระพีพัฒน์ เกษโกศล. (2557). การจัดการท่องเที่ยววิถีถิ่นชุมชนเกาะศาลเจ้าและพื้นที่เกี่ยวเนื่องเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิชิตร์ แสงทองล้วน. (2561). แนวทางการบรูณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัด. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.), สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
สุดสันต์ สุทธิพิศาล. (2563). การมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการ. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาประเด็นและแนวโน้มการจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2524). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525-2529. สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2551). การบริหารและการจัดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย.
อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์. (2555). การบัญชีต้นทุนเพื่อการบริหาร. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อันนา อ่อนมาก. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชน: ธุรกิจผลิตภัณฑ์เสื่อกก ตำบลแพง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Arvind Singhal. (2001). Facilitating Community Participation through Communication. Submitted to GPP, Programme Division, UNICEF, New York.
Bartol, K.M., and Martin, D.C. (1998). Management. Boston: McGraw-Hill Company
Bouneaw J. (2007). The Participatio in Research for Locally. Chiang Mai: Chiang Mai University.
Bramwell, W. (1994). Rural tourism and sustainable rural tourism. Journal of Sustainable Tourism. 2(1), 1-6.
Butler, R.W., and Hall, C.M. (1998). Tourism and Recreation in Rural Areas. American Journal of Rural Development. 3(1), 1-4.
Chess, C. and Purcell. K. (1999). Public participation and the environment: Do we know what works? Environmental Science and Technology. 33(16), 2685-2692.
Cohen, J.M., and Uphoff, N.T. (1980). Participation's place in rural development : Seeking clarity through specificity', World Development.
Colin, A. Carnall. (2007). Managing Change in Organizations. Personal Education Limited, fifth edition published 2007.
De Weger, E., Van Vooren, N., Luijkx, K. G., Baan, C. A. & Drewes, H. W. (2018). Achieving successful community engagement : a rapid realist review. BMC Health Services Research. 18: 285.
Drucker, P.F. (2009). Management: Tasks, Responsibilities, Practices. New York : HarperCollins.
Franklyn Lisk. (1985). Popular participation in planning for basic needs: concepts, methods and practices. Hants, Gower.
Gilmour, D, A., and Fisher R, J. (1991). Villagers, forests and foresters: The Philosophy, process and practices of community forestry in Nepal, Kathmandu. Nepa l : Sahyogi Press.
Griffin ,R.(2015).Fundamentals of Management : Cengage Learning.From https://www. statisticiansforhire.com/wp content/uploads/2019/04/Fundamentals.
Lankford, S. V., and Howard, D. R. (1994). Tourism Impact Attitude Scale (TIAS).Handbook of scales in tourism and hospitality research. Dogan Gursoy, Muzaffer Uysal, Ercan Sirakaya-Turk, Yuksel Ekinci and Seyhmus Baloglu.
Liedewij van Breugel. (2013). Community-based tourism: Local participation and perceived impacts a comparative study between two communities in Thailand. Master Thesis Liedewij van Breugel. Faculty of Social Sciences.
Muganda, M., Sirima, A., and Ezra, P. M. (2013). The role of local communities in tourism development: Grassroots perspectives from Tanzania. J Hum Ecol. 41(1), 53-66.
Nagarjuna, G. (2015). Local Community Involvement in Tourism: A Content Analysis of Websites of Wildlife Resorts. Atna-Journal of Tourism Studies. 10(1), 13-21.
Oakley, P., and Marsden, D. (1984). Approaches to participation in rural envelopment. Geneva: International Labour Organization.
Oppermann, M. (1997). Rural tourism in Germany: farm and rural tourism operators. In The business of rural tourism. Eds S.J. Page & D. Getz. International Thomson Business Press, London.) pp 19-108.
Robbins, S. and Coulter, M. (2009). Industrial management. Pearson Prentice Hall.
Rue, L.W., & Byars, L.L. (2005). Management: Skills and Application. McGraw-Hill/Irwin.
Sue Beeton. (2006). Community Development through Tourism. Australia: Landlinks Press is an imprint.
Sutsan, Suttipisan. (2014). Integrated Tourism Management: The Way Forward in Globalizing World. Paper presented at the Development Administration, Globalization and Sustainable Development, National Institute of Development
Administration, Bangkok.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.