ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อของที่ระลึกของนักท่องเที่ยวชายไทย กรณีศึกษาจังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
ของที่ระลึก, นักท่องเที่ยวบทคัดย่อ
ปัจจุบันจะเห็นได้ว่าประเทศไทยนั้นมาการเปลี่ยนแปลงให้สังคมเศรษฐกิจ (Social economy) เติบโตโดยเฉพาะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว (Economic of tourist) เนื่องจากประเทศไทยมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายทั้งสถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสถานที่ที่เกิดขึ้นโดยฝีมือมนุษย์ และมีสถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในพื้นที่ประเทศไทยส่วนใหญ่มีมาตั้งแต่จุดกำเนิดโลก ตลอดมาจนถึงยุคสมัยแบ่งแยกดินแดนเป็นอาณาเขตต่าง ๆ ก่อให้เกิดเป็นสถานที่สวยงามมากมายตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ภูเขา น้้าตก ทะเล เป็นต้น ต่อมาได้เกิดแนวคิดมีการพัฒนาจากชาวบ้านทำสถานที่ตามธรรมชาติที่สวยงามนั้น ๆ เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนและยังมีของที่ระลึกจำหน่ายขึ้นอีกมากมาย
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2543 ก). ผลการดำเนินงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยปี 2542 และแผนปฏิบัติการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ปี 2543. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดลำปาง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.tat.or.th.(สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2552).
_______. จังหวัดลำปาง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.lampang.go.th.(สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2552).
_______. (2543 ข). รายงานประจำปี 2543. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2541). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2541-2544. [CD-ROM] กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
_______. (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
ชยาภรณ์ ชื่นรุ่งโรจน์. (2537). ปกิณกะบทความวิชาการด้านการท่องเที่ยว เล่ม 2. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประชิด ทิณบุตร. (2531). การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ประเสริฐ ศีลรัตนา. (2531). ของที่ระลึก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ปวีณา โทนแก้ว. (2542). ปัจจัยที่กำหนดรูปแบบการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวภายในประเทศของคนไทย. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ. (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรุงเทพฯ : ร่วมค้า.
พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พุทธศักราช 2522. (2522). ราชกิจจานุเบกษา.เล่ม 96 ตอนที่ 72.กรุงเทพฯ.
พิบูล ทีปะปาน. (2534). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : เซลโล่การพิมพ์.
พูลศิริ กลายสุข. (2549). พฤติกรรมผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้ากลุ่มของที่ระลึกบนถนนคนเดิน ถนนราชดำเนิน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไพบูลย์ เทวรักษ์. (2537). จิตวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : เอส. ดี. เพรส.
นวลน้อย บุญวงษ์. (2542). หลักการออกแบบ.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นันทิยา ตันตราสืบ. (2545). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าที่ระลึกประเภทหัตถกรรมของผู้บริโภคชาวไทยจากศูนย์หัตกรรมภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นิคม จารุมณี. (2536). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2530). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. (พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
วนิดา แก้วเนตร. (2545). ปัจจัยในการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกประเภทหัตถกรรมพื้นบ้านของนักท่องเที่ยวชาวไทย : กรณีศึกษาบ้านถวาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์.ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิบูล จันทร์แย้ม.(2545). พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี.ลพบุรี : สถาบันราชภัฏเทพสตรี.
ลักขณา สริวัฒน์. (2544). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : วิสิทธิ์พัฒนา.
สยามไม้แกะสลัก. ไม้แกะสลักชุมชนบ้านบ่อสร้าง ตำบลต้นเปา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก http://www.siamwoodcarving.com/ สืบค้น 9 มกราคม 2553.
สุภาวดี ชาวผ้าขาว. (2548). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศในการเลือกซื้อของที่ระลึกในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : ธีระฟีล์มและไซเท็กซ์.
อดุลย์ จาตุรงค์กุล. (2543). พฤติกรรมผู้บริโภค. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรณี บุญนิมิตร. (2540). พฤติกรรมการซื้อสินค้าที่ระลึกของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
อาทิตย์ ศิริธร. (2541). วิสัยทัศน์การท่องเที่ยวของไทยพุทธศักราช 2545. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
Fleming, L. Malcolm & Harward levie. (1979). Instructional Message Design. (2nd ed.). Englewood Cliffs: Educational Technology Publications.
McIntosh, Robert W. & Goelder, Charles R. (1986). Tourism principles, practices,philosophies.Fifth Edition.New York :John Wiley & Sons, Inc.
Schiffman, G. & Kanuk, L. (1987). Consumer Behavior. (3rd ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Smith,Valene. (1977). Hosts and Guests. Philadelphia: University of Pennsylvania Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.