การพัฒนาพื้นที่ศิลปะในเมืองและชุมชนของกลุ่มจังหวัดล้านนา

Main Article Content

ภัชรบถ ฤทธิ์เต็ม
มานิตย์ โกวฤทธิ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1)  เพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นที่ศิลปะในเมืองและชุมชนของกลุ่มจังหวัดล้านนา 2. เพื่อพัฒนาพื้นที่ศิลปะในเมืองและชุมชนของกลุ่มจังหวัดล้านนาแบบมีส่วนร่วม  3. เพื่อพัฒนาพื้นที่ศิลปะในเมืองและชุมชนของกลุ่มจังหวัดล้านนาที่มีกระบวนการสร้างสรรค์และการอนุรักษ์ที่เหมาะสม เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยการสำรวจข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี สังคม และวัฒนธรรม และศิลปกรรมพื้นถิ่น


ผลการวิจัยพบว่า หลังจากนั้น ผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมเสวนาวิชาการศิลปะเพื่อถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของเยาวชนและจิตอาสา กิจกรรมบูรณาการกับประเพณีท้องถิ่น ถนนศิลปะ และการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสารมวลชนและสื่อออนไลน์

Article Details

How to Cite
ฤทธิ์เต็ม ภ. ., & โกวฤทธิ์ ม. . (2023). การพัฒนาพื้นที่ศิลปะในเมืองและชุมชนของกลุ่มจังหวัดล้านนา. วารสารพุทธศิลปกรรม, 6(1). สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/barts/article/view/2327
บท
บทความวิจัย

References

ชุติมา บริสุทธิ์. (2557). การศึกษาการสร้างเมือง (machizukuri) ด้วยศิลปะร่วมสมัย ภายในเมือง Kanazawa จังหวัด Ishikawa. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ไชยสิทธิ์ ชาญอาวุธ. (2560). ศิลปะข้างถนนการแสดงออกบนพื้นที่สาธารณะ:ต่อเหตุการณ์ สำคัญในสังคม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 11(2), 124 – 135.

ไชยสิทธิ์ ชาญอาวุธ และพัชราภา เอื้ออมรวนิช. (2558). การศึกษาคุณค่าด้านอัตลักษณ์ของศิลปะข้างถนนเพื่อการสร้างมูลค่าสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ณัฐกานต์ กันธิ. (2555). มะจิสุคุริ (Machitsukuri) กับการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว: กรณีศึกษา การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทรงเดช ทิพย์ทอง มานิตย์ โกวฤทธิ์ และศตวรรษ หน่อแก้ว. (2562). การพัฒนาเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยววิถีศิลป์บนเส้นทางบ้านศิลปินล้านนา. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พรรณี วิรุณานนท์. (2551). “การพัฒนาแนวทางการจัดมหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติในพื้นที่สาธารณะของประเทศไทย”. รายงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานศิลปกรรมร่วมสมัย.

พลวัฒ ประพัฒน์ทอง. (2557). เชียงรายเมืองศิลปิน : การพัฒนาเมืองด้วยชุมชนศิลปินที่พำนักถาวรในเชียงราย. รายงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว).

มานิตย์ โกวฤทธิ์ และประเสริฐ บุปผาสุก. (2562). ศิลปะเชิงพุทธสู่วิถีชุมชนบนผนังพื้นที่สาธารณะในจังหวัดเชียงใหม่. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

แมนฤทธิ์ เต็งยะ. (2559). “จากวัฒนธรรมกราฟฟิตีสู่งานสตรีทอาร์ตในประเทศไทย”. Veridian E-Journal. Silpakorn University. 9(2), 2424-2436.

ลิขิต กิตติศักดินันท์. (2559). การถอดความหมายและบทบาทของศิลปะในที่สาธารณะจาก ภาพถ่ายที่ท่ามหาราช. รายงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2011). “การสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมชุมชนเมืองที่น่าอยู่อาศัย: ปัญหาที่มองไม่เห็นและแนวทางแก้ไข”. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง. (8(2)): 9-10.

วันเฉลิม จันทร์พงษ์แก้ว. (2560). คุณค่าทางการสื่อสารและมูลค่าทางธุรกิจของสตรีทอาร์ท. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เสาวรภย์ กุสุมา ณ อยุธยา. (2553). Creative Economy ทางเลือกใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจไทย. Executive Journal. 30(1), 23 – 28.

อโณทัย อูปคำ. (2558). “บทบาทและอิทธิพลของพื้นที่ศิลปะทางเลือกโปรเจค 304 ที่มีต่อศิลปะร่วมสมัยไทย”. Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 8(2), 2906 – 2921.

Louis Bou, (2005). Street Art. The Spray File. New York: Colin Design.