ปัจจัยที่ส่งผลต่อนวัตกรรมทางสังคมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อนวัตกรรมทางสังคมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี 3 ด้านคือ ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจด้านสังคม กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ชุมชนในตำ บลห้วยต้อน ตำ นาฝาย ตำ บลบ้านเล้า ตำ บลนาเสียวตำบลหนองนาแซง ตำ บลในเมือง ตำ บลห้วยบง ตำ บลโพนทอง ตำ บลลาดใหญ่ ตำ บลท่าหินโงมได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ชุมชนละ 3 คน ซึ่งเป็นตัวแทนของคนแต่ละช่วงวัยคือ วัยเด็ก วัยรุ่นและผู้สูงอายุ 10 ชุมชน จำ นวนกลุ่มตัวอย่าง 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อนวัตกรรมทางสังคมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า ด้านการเมืองด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมของชุมชนได้ส่งผลกระทบต่อนวัตกรรมทางสังคม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้ในชุมชนจะสอดคล้องกับวิถีการดำ เนินชีวิตของชุมชน หรือการประกอบอาชีพของชุมชน และทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ. (2555). นวัตกรรมทางสังคม: ประโยชน์ที่มีมากกว่าที่คิด. วารสารนักบริหาร (excutive_journal), 32(3).
เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสเพื่อส่งเสริมการพัฒนามนุษย์และสังคมอย่างยั่งยืน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 40(1), 202-217.
คีระคิน คำ หนองไผ่ และประยุทธ ชูสอน. (2560). นวัตกรรมสร้างสรรค์ทางสังคมของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5: กรณีศึกษา. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(2), 1-9.
จันทร์ศรี สิมสินธุ์. (2558). นวัตกรรมชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. ปริญญานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
จินตนา สุจจานันท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ชานนท์ โกมลมาลย์. (2561). นวัตกรรมทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะโดยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(1).
วันชัย พละไกร.(2550). ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสำ เร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาบ้านตำแย ตำบลม่วงสามสิบ อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ปาน กิมปี. (2557). “การประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต”. ใน สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล (บก.). การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (หน้า 121-143). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมตำ ราและเอกสารทางวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยากร หวังมหาพร. (2552). นวัตกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสหภาพยุโรป. ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรมณ เทพแก้ว. (2562). การสร้างสรรค์นวัตกรรมสังคมในวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวบ้านอุ่มแสง จ. ศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำ ทางสังคม ธุรกิจและการเมือง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2549) รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาการศึกษาไทยกับนานาชาติ: นวัตกรรมด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อยกระดับการศึกษาของแรงงานไทย. กรุงเทพฯ.
อลงกรณ์ คูตระกูล. (2553). นวัตกรรมสังคม: กรณีศึกษาโครงการของท้องถิ่นในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. (Unpublished Doctoral dissertation). สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.
Clayton, W., & Elasy, T.A. (2009). A review of the pathophysiology, classification and treatment of foot ulcers in diabetic patients. Feature Article, 27(2), 52-58
European Commission. (2013). Guide to social innovation. Directorate-General for Regional and Urban Policy.