คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล

Main Article Content

นุชนาฎ เพชรชำนาญ
ศันสนีย์ จะสุวรรณ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา เอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล 2) ศึกษาระดับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล 3) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา เอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ผู้ให้ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ ได้แก่ ผู้บริหาร และผู้ทรงคุณวุฒิในเรื ่องยุคดิจิทัล จำานวน 14 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหาร และครู โรงเรียนสังกัดสำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต จำานวน 297 คน แบบสอบถามที่ใช้เป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบ ด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ระดับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถาน ศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล อยู่ในระดับ พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน แนวทางในการพัฒนา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล พบว่า คุณลักษณะของ ผู้บริหารในยุคดิจิทัล อยู่ในระดับมาก ผู้บริหารควรมีแนวทางในการส่งเสริมบทบาทครูต้องเรียนรู ้ เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อนำามาวิเคราะห์ความเป็นไปได้มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ให้เหมาะสมกับ สภาพของสถานศึกษา

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เพชรชำนาญ น. ., & จะสุวรรณ . ศ. (2024). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน เขตดุสิต ในยุคดิจิทัล . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(1), 111–122. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/3860
บท
บทความวิจัย

References

โกวิท ประวาลพฤกษ์. (2550). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.

จารุณี ดวงแก้ว. (2554). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 3. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัย ราชภัฏเทพสตรี.

ประคอง รัศมีแก้ว. (2551). คุณลักษณะผู้นำาของผู้บริหารในสถานศึกษาที่มีคุณภาพ. มหาวิทยาลัย ศิลปากร: นครปฐม.

ปริยาภรณ์ ตั้งคณานันต์. (2558). การจัดการห้องเรียนเเละแหล่งเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ.

พิชญาภา ขวัญยืน. (2560). คุณลักษณะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนตามทัศนะของ ครูผู้สอน โรงเรียนเอกชนเขตอาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศุภมาส วิสัชนาม. (2560). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี.

สุรัตน์ ดวงชาทม. (2558). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพในโรงเรียน สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). ภาวะผู้นำา. ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในภาวะผู้นำา. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2539). คู่มือการปฏิบัติงานสำาหรับผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมคุรุสภา สำานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน.แผนพัฒนาการศึกษาเอกชน พ.ศ.2560-2564. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560 ออนไลน์). สมรรถนะหลักของนักบริหารระดับสูง. สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคมจาก https://www.csc.go.th/sites/default/files/attachment/ article/_phaakhphnwk_ch_s mrrthnathaangkaarbrihaar.pdf.

อำไพ อุ่นศิริ. (2557). คุณลักษณะที ่พึงประสงค์ผู้บริหารสถานศึกษาตามทรรศนะของครูจังหวัดนครปฐม สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9. งานนิพนธ์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

อำนวย ทองโปร่ง. (2554). ภาวะผู้นำาสำาหรับผู้บริหารสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มิตรภาพ การพิมพ์และสตูดิโอ.

Barnard M.B. (1968). Handbook of leadership. New Yok: The free press.