การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบการย่อยอาหาร ตามทฤษฎีคอสตรัคชั่นนิซึม สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี

ผู้แต่ง

  • ธีรภัทร ฉิมพิภพ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การจัดการเรียนรู้ทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึม

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบการย่อยอาหารตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึม สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนีย บัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี 2) ศึกษาความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบการย่อยอาหารตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึม สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี

          ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ภายหลังจากการเรียน เรื่อง ระบบการย่อยอาหารตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 17.30 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.60 ก่อนการเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 13.65 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.10 ซึ่งพบว่า ที่ซึ่งมีนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องระบบการย่อยอาหารหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน หลังจากเรียนมีสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นมากกว่าก่อนเรียน    2. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีความก้าวหน้าทางการเรียนอยู่ในระดับสูงจำนวน 8 คน อยู่ในระดับปานกลางจำนวน 8 คน และอยู่ในระดับต่ำจำนวน 4 คน โดยมีค่าเฉลี่ยของผลความก้าวหน้าทางการเรียน เรื่อง ระบบการย่อยอาหารตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึมก่อนและหลังเรียน เท่ากับ 0.05 อยู่ในระดับ Medium gain   3. นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ได้รับการสอนตามรูปแบบการเรียนตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิซึม เรื่อง ระบบการย่อยอาหาร มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (  X= 4.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความพึงพอใจต่อการเรียนระดับมากที่สุดในด้านกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านประโยชน์ที่ได้รับ และมีความพึงพอใจระดับมากในด้านเนื้อหา

References

กนกวรรณ มณฑิราช. (2561). การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมโดยใช้ทฤษฎีคอนสตัคชันนิซึม เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การสร้างผลผลิต และการมีความรับผิดชอบ (ซีซีพีอาร์) ของนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(2), 209-223.

กมลวรรณ ตังธนกานนท์. (2557). การวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือพัฒนาสื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กรมวิชาการ. (2543). การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปนสำคัญที่สุด : แนวทางสู่ การปฏิบัติ เอกสารชุดปฏิรูปการเรียนรู้ลำดับที่ 2 โครงการปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ-สภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

_______________. (2562). หลักสูตรแกนกลางการอาชีวศึกษาพุทธศักราช 2562. กรุงเทพ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

_______________. (2553). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิติศักดิ์ เสมาธรรมานนท์. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมี ตามแนวคิดการเรียนรู้ผสมผสานบนพื้นฐานแนวคิดอินเตอร์แอกทีฟ คอนสตัคติวิสซึม สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ฆนัท ธาตุทอง. (2559). หลักการจัดการเรียนรู้. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.

จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการผ่านเว็บ ตามแนวทฤษฎีการขยายความคิด เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการถ่ายโยงการเรียนรู้ของผู้เรียน ในระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

แจ่มจนทร์ ทองสา. (2544). การนำเสนอรูปแบบบทเรียนมัลติมีเดียตามแนวคิด คอนสตรัคติวิสต์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. คณะครุศาสตร์ กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนาธิป พรกุล. (2552). การสอน กระบวนการคิด ทฤษฎี และการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: วี. พริ้นท์ (1991).

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2542). การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์.

เชียรศรี วิวิธสิริ. (2535). การศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษานอกโรงเรียน : เทคโนโลยี ทางการศึกษา (พิมพ์ครั้ง ที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษาผู้ใหญ่ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพฯ: ไอเดียนสโตร์.

ถนอม เลาหจรัสแสง. (2549). การจัดทำข้อกำหนดคุณลักษณะระบบบริหารจัดการ การเรียนรู้แห่งชาติ: Development of National LMS (Learning Management System) Model. เชียงใหม่: สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิฎิ์ภัทรา สุดแก้ว. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ผ่านเครือข่ายทางสังคมออนไลน์ เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.

____________. (2561). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนชพร ตั้งธรรมกุล. (2561). รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียน ของครูผู้สอน เพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำนักงานเขตพื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

ธเนศ ขำเกิด. (2548). จี้ใจได้สาระ. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

ธวัชชัย สหพงษ์. (2555). ผลการจัดการเรียนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) รายวิชาการสร้างภาพนิ่ง สำหรับงานมัลติมีเดีย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

นันทนา ลีลาชัย. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการอ่านอย่างมี วิจารณญาณโดยผสมผสานแนวคิดอภิปัญญา การเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ และชุมชนการเรียนรู้แบบร่วมงานในชั้นเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราช-ภัฏสกลนคร.

นิพนธ์ ศุขปรีดี. (2545). นวัตกรรม เทคโนโลยี สื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ: นีลนาราการพิมพ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยสำหรับครู. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.

_____________. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

_____________. (2553). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพ: สุวีริยาสาส์น.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: แหลมทอง.

ประฎิชญา สร้อยจิตร. (2562). การวิจัยและการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสำหรับ นักศึกษาครูคณิตศาสตร์ โดยบูรณาการแนวคิดการนำตนเองร่วมกับทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบการเรียนการสอน และการรับรู้ความสามารถของตนเอง. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ประยูร บุญใช้. (2544). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่านสื่อกลางเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิทางการเรียนรายวิชา ของนักศึกษาในสถาบันราชภัฏ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พจนา ทรัพย์สมาน. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรู้ ด้วยตนเอง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชรี ศรีสังข์. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาจิตวิทยาสังคมโดยใช้ชุมชน และประสบการณ์เป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2548). คุณภาพชีวิตในสังคมฐานความรู้ (Knowledge-ased society) ด้วยทฤษฎีการสร้างสรรค์ด้วยปัญญา (Constructionism) ตอนที่ 1. นิตยสารต้นไม้, หน้า 77-81.

พาสนา จุลรัตน์. (2561). การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุค Thailand 4.0. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(2), 2363-2380.

พินิจ พินิจพงศ์. (2553). ผลการใช้สื่อมัลติมีเดียตามทฤษฎีคอนสตรัคชันนิสซึม เรื่องทฤษฎี บทพีทาโกรัส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ไพรัช รามนัฏ. (2539). การผลิตสไลด์. เชียงใหม่: ภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษา สถาบันราชภัฏเชียงใหม่

ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

วรรณิกา ชาญพิชญาพรวัฒน์. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเปนฐานร่วมกับแนวคิดคอมสตรัคชั่นนิสซึ่ม เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วสันต์ ศรีหิรญ. (2562). การพัฒนารูปแบบสิงแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับห้องเรียนแบบกลับด้านที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาครู. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: แอลทเพรส

วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ส. เจริญการพิมพ์.

วิชาญ เพ็ชรทอง. (2559). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนากระบวนการสร้างชิ้นงานเพื่อประเมินพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอน ตามแนวทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้ผ่านชิ้นงาน รายวิชา การวัดและ การควบคุมทางอุตสาหกรรม. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2558). รายงานผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 3 ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2559). สกอ.พัฒนานักศึกษาสู่ Thailand 4.0. อนุสารอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพสถานศึกษา องค์การมหาชน. (2547).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา องค์การมหาชน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2545). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.

สุชิน เพ็ชรักษ์. (2544). รายงานวิจัยเรื่องกระบวนการเรียนรู้ เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ.

สุวิทย์ มูลคำ และคณะ. (2549). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

อุทิศ บำรุงชีพ. (2551). รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บตามแนวคอนสตัคชันนิซึม เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Ackermann, E. (2006). Piaget’s constructivism, Papert’s constructionism: What’s the difference?. Retrieved form http://learning.media.mit.edu January 26th, 2024.

Anderson, T. P. (1997). Using Models of Instruction. In C. R. Dills and A. J. Romiszowski (eds). Instructional Development Paradigms. Englewood Cliffs, NJ: Educational Technology Publications.

Anna Vintere. (2018). A Constructivist Approach to the Teaching of Mathematics to Boost Competences Needed for Sustainable Development.RURAL SUSTAINABILITY RESEARCH, 39(334).

Arends, R. I. (1997). Classroom Instruction and Management. New York: McGraw Hill.

Baharvand, Mohsen. (2002). A Comparison of the Effectiveness of Computer-Assisted Instruction Versus Traditional Approach to Teaching Geometry. Dissertation Abstracts International.

Cronbach, L. Joseph. (1984). Essential of PSychology and Education. New York: Mc-Graw Hill.

Edgar, Dale. (1971). Technique of Teaching Vocabulary. New York: Field Education Publication.

Eggen, P. and Kauchak, D. (2001). Educational psychology windows on classrooms (5th ed.). Columbus: Prentice-Hall.

Ely, D. P. (ed.). (1972). The field of Educational Technology: A statement of definition. Audiovisual Instruction, October, 36-43.

Farouq, A. (2000). The Effect of Using the Geometer’ s Sketchpad (GSP) on Jordanian Student’s Understanding of Geometrical Concepts. Proceedings of the International Conference on Technology in Mathematics Education, 5-7 July 2000, Beirut, Lebanon, pp. 63-69.

Frerking, B. G. (1995). Conjecturing and Proof-Writing in Dynamic Geometry.Dissertation Abstracts International, 55(12), 3772-A.

Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.

Growman, M. (1996). Integrating Geometer’s Sketchpad into a Geometry Course for Secondary Education Mathematics Majors. Association of Small Computer users in Education (ASCUE) Summer Conference Proceedings, 29th, North Myrtle Beach, SC.

Heinich, R. and others. (1999). Instructional Media and Technologies for Learning. New Jersey: Prentice-Hall.

Joyce, B., & Weil, M. and Showers, B. (1992). Model of teaching (4th ed.). Boston: Allyn and Bacon: A Divison of Simon & Schuster.

Joyce, B., Weil, M. and Calhoun, E. (2004). Models of Teaching (7th ed.). London: Pearson.

Kafai, Y., and Resnick, M. (Eds.). (1996). Constructionism in practice: Designing, thinking and learning in a digital world. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.

Karen, F.H. (2003). High School Students’ Understandings of Geometric Transformations in the Context of a Technological Environment. Journal of Mathematical Behavior, 22, 55–72.

Lay Ah-Nam and Kamisah Osman. (2017). Developing 21st Century Skills through a Constructivist-Constructionist Learning Environment. K-12 STEM Education, 3(2), 205-216.

Lester, M. (1996). The Effects of The Geometer’s Sketchpad Software on Achievement of Geometric Knowledge of High School Geometry Students. Dissertation Abstracts International, 57(6), 2343-A.

Likert, R. A. (1932). A Technique for the Measurement of Attitudes, Archives of PSychology.

Melczarek, R. J. (1998). The Effects of Problem-Solving Activities Using Dynamic Geometry Computer Software on Readiness for Self-Directed Learning. Dissertation Abstracts International, 58(7), 2611-A.

Olkun, S. (2003). Comparing Computer Versus Concrete Manipulatives in Learning 2D Geometry. Journal of Computers in Mathematics and Science Teaching, 22(1), 43-56.

Papavlasopoulou, Giannakos, and Jaccheri. (2019). A Critical Review of Constructivist Theory and the Emergence of Constructionism. Retrieved form https://www.researchgate.net.

Papert, S. (1999). Introduction: What is Logo? And Who Need It? In Logo Philosophy and Implementation. LCSI.

Papert, S. Mindstorms. (1993). Children, computers, and powerful ideas (2nd ed.). New York: Basic Books, Harper Collins.

Sanna Taija, Kimmo Tuominen and Reijo Savolainen. (2005). “Isms” in information science: constructivism, collectivism and constructionism.Journal of Documentation, 61(1), 79-101.

Seels, B., and Glasgow, Z. (1998). Making Instructional Design Decisions (2nd ed.). NJ: Merrill Prentice Hall.

Yousef, A. (1997). The Effects of the Geometer’s Sketchpad on The Attitude Toward Geometry of High School Students. Dissertation Abstracts International, 58(5), 1631-A.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-10-2024