ท่องเที่ยวเชิงอาหาร : ศักยภาพและการพัฒนาโมเดลการจัดการท่องเที่ยวโดยเครือข่ายชุมชนบ้านไม้ขาว เชื่อมโยงภูเก็ตเมืองมรดกโลกเมืองสร้างสรรค์วิทยาการอาหาร

ผู้แต่ง

  • กุลแก้ว คล้ายแก้ว
  • ภัทริศร์ ถนอมสิงห์
  • รพีพงศ์ อินต๊ะสืบ

คำสำคัญ:

ศักยภาพ, การพัฒนาโมเดลการจัดการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงอาหาร

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารของชุมชนบ้านไม้ขาว จังหวัดภูเก็ต  และพัฒนาโมเดลการจัดการท่องเที่ยวเชิงอาหารเชื่อมโยงภูเก็ตเมืองมรดกโลกเมืองสร้างสรรค์วิทยาการอาหารด้วยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนบ้านไม้ขา วเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ  โดยได้นำประเด็นที่ได้จากการจัดประชุมกลุ่มการสัมภาษณ์เชิงลึ ก มาสรุปให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่กำหนดไว้  และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิ เคราะห์เนื้อหา (Content analysis)  ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนมีศักยภาพสามารถนำวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่มีอยู่มาประกอบกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหารที่หลากหลาย และสา มารถเชื่อมโยงกิจกรรมกับภูเก็ตเมืองมรดกโลกเมืองสร้างสรรค์วิทยาการอาหาร ซึ่งวิธีการจั ดการท่องเที่ยวเชิงอาหารโดยชุมชน องค์ความรู้ของชุมชน องค์ความรู้จากผู้นำชุมชน และกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบ สามารถพัฒนาให้เป็นโมเดลการจัดการท่องเที่ยวเชิงอา หาร ด้วยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนและเป็นต้นแบบการจัดการท่องเที่ยวให้เชื่อมโย งเมืองภูเก็ต ซึ่งเป็นเมืองสร้างสรรค์ด้านวิทยาการอาหารโดยองค์การยูเนสโกได้

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2562). ธุรกิจร้านอาหารบทวิเคราะห์ธุรกิจ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2562. สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2564. https://www.dbd.go.th/download/document_ file/Statistic/2562/T26/T26_201902.pdf

โครงการ The Creative Community of Gastronomy Tourism Network กรณีศึกษาชุมชนบ้านไม้ขาว จังหวัดภูเก็ต. (2564). Model เครือข่ายชุมชนเพื่อการเรียนรู้ด้าน “การท่องเที่ยวเชิงอาหาร” กรณีศึกษา ชุมชนบ้านไม้ขาวภูเก็ต. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จักกฤษณ์ วังราษฎร์. (2561). โครงการหน้าต่างสู่การท่องเที่ยวล้านนา (Lanna Tourism Enclave) ประเด็นการท่องเที่ยวเชิงอาหารและอาหารสุขภาพ. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จุฑามาศ วิศาลสิงห์. (2562). Gastronomy Tourism การกระจายรายได้สู่ “ฐานราก” สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2562. จาก https://www.prachachat.net/tourism/news-317059

ภัทรพร พันธุรี. (2558). การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอาหารโดยผ่านประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2562. จาก https://www.tco-thaijo.org/index.php/journal_sct/issue/view/7538.

โตมร สุขปรีชา. (2560). Food Tourism 2.0. TAT Review Magazine, 3(1) : 8-13.

บัณฑิต อเนกพูนสุข. (2560). Food on the Move. TAT Review Magazine, 3(1) : 8-13.

บุษกร เชี่ยวจินดากานต์. (2561). เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 25 มกราคม - มิถุนายน 2561. หน้า 103-118.

ถวิลวดี บุรีกุล. การมีส่วนร่วม : แนวคิดทฤษฎีและกระบวนการ.เอกสารประกอบการศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชน วุฒิสภา วันอังคารที่ 17 มิถุนายน 2551 ณ สถาปันพระปกเกล้า. 2551. หน้า 6-8.

วันชัย วัฒนศัพท์. (2545). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออพเซท. หน้า 1-7.

ศูนย์ข้อมูลเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. (2559). รูปแบบกิจกรรมในแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2564. จาก http://conservation.forest.ku.ac.th/ecotourdb/Cgi-bin/ARTICLE/ecotour_tat.asp.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2559). ท่องเที่ยวเชิงอาหาร. กรุงเทพฯ : บริษัทโคคูน แอนด์ โค.

World Tourism Organization. 2012. Global report on food tourism : AM report volume four. Madrid, Spain: Author.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-03-2023