เทคนิคการจำ: สะท้อนการเรียนรู้การสะกดคำในภาษาไทย

ผู้แต่ง

  • วันจรัตน์ เดชวิลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
  • เรวดี คงสุวรรณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต

คำสำคัญ:

เทคนิคการจำ, การสะกดคำ, คำศัพท์, ภาษาไทย

บทคัดย่อ

      การเรียนการสอนภาษาไทยควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความรู้ในภาษาและการสื่อสาร ซึ่งกลวิธีการเลือกใช้ถ้อยคำและการสะกดคำเป็นปัจจัยสำคัญต่อผู้เรียนภาษา เทคนิคการจำคำศัพท์      เพื่อสะกดคำที่ถูกต้องจึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ทางภาษาที่      ส่งเสริมให้ผู้เรียนระลึกในสิ่งที่เรียนรู้และคงสิ่งที่เรียนรู้ไว้ในระยะเวลานาน    บทความ   ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อบกพร่องการสะกดคำและนำเสนอเทคนิคการจำคำ ภาษาไทยในการสะกดคำที่ถูกต้อง                                                                                          โดยนำทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (Meaningful verbal learning)           ของ ออซูเบล (Ausubel) อธิบายความสำคัญการเรียนรู้คำศัพท์ที่มาจากความเข้าใจ     อันส่งผลให้สมองเกิดความคิดรวบยอดจากสิ่งที่เรียนรู้  และต่อยอดความรู้จนสามารถ เขียนสะกดคำและนำคำศัพท์ไปใช้ได้อย่างถูกต้องตรงความหมาย                                        ผลการศึกษาเทคนิคการจำศัพท์เพื่อเป็นแนวทางการเขียนสะกดคำมี  5  วิธี    ได้แก่      1. คำแกน   (The Keyword Method)   2. การแยกคำเป็นส่วนย่อย  3. การแปลงตัวอักษรในคำทุกตัวให้มีความหมาย (Embedded Letter Strategies)   4. การซ้อนคำ        5. การสร้างเสียงสัมผัส 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). การเขียนสะกดคำ. สืบค้นจาก: https://www.moe. go.th/.

กองเทพ เคลือบพณิชกุล. (2542). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ชลลดา เรืองฤทธิ์ราวี. (2553). ผลการใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนากาเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรีนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ฐาปกรณ์ อ่วมสถิตย์, ลักขณา รุ่งโรจน์ และกนกวรรณ ศรีบุญธรรม. (2562). การแก้ไขปัญหาการเขียนสะกดคำภาษาไทยไม่ถูกต้องในร้านอาหารบริเวณสถานศึกษา อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. โครงการวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

ณัฐชา เรืองเกษม. (2547). การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. การศึกษาค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ดุสิตา ขันธพงษ์ .(2560).การสอนคำศัพท์ให้เกิดประสิทธิผล.สืบค้นจาก : https://www.oea.educate.rtaf.mi.th/images/How-to-Teach-Vocabulary-Effectively.

ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง. (2550). การพัฒนาทักษะการเขียน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญญาพร ทองจันทร์. (2560, มกราคม-พฤษภาคม). ปัญหาการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). วารสารช่อพะยอม.28 (1), 125-132.

ประดินันท์ อุปรมัย. (2540). เอกสารคำสอนชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา (มนุษย์กับการเรียนรู้).พิมพ์ครั้งที่ 15. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : นนทบุรี.

ปรีชา ทิชินพงศ์. (2523). ลักษณะภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์. (2560). เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมส่งเสริมความคงทนในการจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ. Journal of Technology Management Rajabhat Maha Sarakham University. 4(2), 7-16.

พาสนา จุลรัตน์. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มัลลิกา คณานุรักษ์. (2547). จิตวิทยาการสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.

วนิดา ฉัตรวิราคม. (2556). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วรรณี ลิ้มอักษร. (2540). จิตวิทยการศึกษา. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

วรรณี โสมประยูร. (2544). การสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

ศิริพร ทวีชาติ. (2537). ผลของการใช้เทคนิคการจำในแบบฝึกการเขียนคำภาษาไทยที่มักสะกดผิด สำหรับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมพงษ์ ศรีพยาต. (2553). การพัฒนาชุดแบบฝึกการเขียนสะกดคำสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรบัณฑิต, สาขาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุจริต เพียรชอบ. (2539). ศิลปะการใช้ภาษา. กรุงเทพฯ : สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

สุภัทร แก้วพัตร. (2560). ภาษากับสังคม. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สุรางค์ โคว้ตระกูล. (2533). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรีรัตน์ อักษรกาญจน์. (2559). การศึกษาลักษณะข้อผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีปีการศึกษา 2558. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร. 18(2), 65-74.

ไสว เลี่ยมแก้ว. (2528). ความจำของมนุษย์: ทฤษฎีและวิธีสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสยาม.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2544). ภาษาศาสตร์สังคม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุบลรัตน์ เพ็งสถิย์. (2535). ความจำมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-03-2023