ระดับการกำกับดูแลกิจการที่มีผลต่อความสามารถในการทำกำไร : กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนกลุ่มอุตสาหกรรมบริการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • เบญจพร โมกขะเวส

คำสำคัญ:

ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ, สัดส่วนกรรมการอิสระ, ความสามารถในการทำกำไร

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของระดับการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มอุตสาหกรรมบริการในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งวัดค่าโดยใช้อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 39 บริษัท  ในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีคะแนนการกำกับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ ระดับดีมาก ระดับดีและระดับที่ต่ำกว่าระดับดี  ติดต่อกันระหว่างปี 2551 - 2560  โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ  คำนวณหาค่าร้อยละ  และใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ   0.01  และ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าบริษัทที่มีคะแนนการกำกับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ จำนวนมี 7 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 16.50 บริษัทที่มีคะแนนในระดับระดับดีมาก จำนวน 12 บริษัท  คิดเป็นร้อยละ 31.50 บริษัทที่มีคะแนนในระดับระดับดีจำนวน 4 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 11.00 และบริษัทที่มีคะแนนในระดับต่ำกว่าระดับดี 16 บริษัท คิดเป็นร้อยละ 41.00 ส่วนการทด สอบสมมติฐานพบว่า คะแนนการกำกับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการและผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่งมีผลต่อความสามารถในการทำกำไรวัดค่าโดยใช้อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอย่าง     มีนัยสำคัญทางสถิติในขณะที่ สัดส่วนกรรมการอิสระและขนาดคณะกรรมการบริษัทไม่มี  ผลต่อความสามารถในการทำกำไรวัดค่าโดยใช้อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม และอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

References

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2549). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.set.or.th/. (วันที่ค้นข้อมูล 16 กุมภาพันธ์2556).

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2559). รายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.thai-iod.com/. (วันที่ค้นข้อมูล 11 ธันวาคม 2559).

สุพาดา สิริกุตตา และคณะ. (2552). การเงินธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

Ammari, A., Kadria, M., & Ellouze, A. (2014,1September). Board structure and firm performance: Evidence from French firms listed in SBF 120. International Journal of Economics and Financial Issues. 4(3), 580 - 590.

Bebeji, A., Mohammed, A., & Tanko, M. (2015, August). The effect of board size and composition on the financial performance of banks in Nigeria. African Journal of Business Management. 9(16), 590 - 598.

Bhagat, S., & Black, B. S. (2002, 1 February). The non-correlation between board independence and long-term performance. Journal of Corporation Law. 27(1), 231 - 273.

Clark, T. (2004, May). Theories of corporate governance: The Philosophical foundations of corporate governance. London : n.p.

Coskun Metin & Sayilir Ozlem. (2012, July). Relationship Between Corporate Governance and Financial Performance of Turkish Companies. International Journal of Business and Social Science. 3(14), 59 - 64.

Ernst & Young. (2005). E&Y CG Web Survey. [Online]. from : http://www.ey.com/Global/content.nsf/Indonesia/services-Business Risk, Corporate Governance. (Retrieved August 13, 2013).

Hussin, N., & Othman, D. R. (2012, November). Code corporate governance and firm performance. Journal of Economics, Finance and Management Sciences. 6(2), 1 - 22.

Khatab, H. et al. (2011, February). Corporate governance and firm performance : A case study of Karachi stock market. International Journal of Trade, Economics and Finance. 2(1), 39 - 43.

Krafft Jackie et al. (2013). Corporate Governance, Value and Performance of Firms : New Empirical results on Convergence from a large international database. Working Paper. University of Nice Sophia Antipolis, France.

Lama, T. (2012, January). Empirical evidence on the link between compliance with Governance of best practice and firms' operating results. Australasian Accounting Business and Finance Journal. 6(5), 63 - 80.

Maher M. & Anderson T. (2000, February). Corporate Governance: Effect on firm performance and economic growth. Organization for Economic Co-operation and Development. 16(1), 1 - 40.

Ranti, U. O., & Samuel, F. A. (2012, 24 April). The Effects of Board Size on Financial Performance of Banks: A Study of Listed Banks in Nigeria. International Journal of Economics and Finance. 4(2), 260 - 267.

Sunday, O. K. (2008, 28 November). Corporate governance and firm performance: The case of Nigerian listed firms. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences. 14(1), 16 - 28.

Wu, M. C. et al. (2009). The Effects of corporate governance on firm performance. [Online]. From :http://120.107.180.177/1832/9901/099-2-06p.pdf (Retrieved : March 8, 2013).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-02-2023