การวิเคราะห์ปัจจัยการใช้แก๊สโซฮอล์ ของรถยนต์ส่วนบุคคล

ผู้แต่ง

  • ชัยนิกร กุลวงษ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  • สงวน วงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  • มารุต โคตรพันธ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ปัจจัย, แก๊สโซฮอล, รถยนต์ส่วนบุคคล

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการใช้แก๊สโซฮอล์ของรถ ยนต์ส่วนบุคคล กลุ่มประชากร คือ ผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคลในเขตอำเภอเมือง    จังหวัดนคร ราชสีมา ทำการสุ่มตัวอย่างจำนวน 558 คน และใช้แบบสอบถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อ งระหว่างวัตถุประสงค์กับเนื้อหาของข้อคำถาม 0.67 ถึง 1.00 และมีระดับความน่าเชื่อถือที่เท่ากับ 0.92 เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลทำการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ  สกัดปัจจัยด้วยวิธีวิเค ราะห์องค์ประกอบหลักและวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันอันดับหนึ่ง  เพื่อตรวจสอบความสอดค ล้องของโมเดล ผลการวิจัยพบว่า ชุดตัวแปรที่ทำการศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยได้ 9 ด้า น โดยมีความแปรปรวนสะสมร้อยละ 85.95 และพบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิ งประจักษ์ โดยมีค่าสถิติไคสแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) = 2.22, IFI = 0.97, TLI = 0.97, CFI = 0.97, RMSEA = 0.05 และ HOELTER 0.05 = 265

References

กรมการขนส่งทางบก. (2560). จำนวนรถจดทะเบียน (สะสม) ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=0affb243-e426-4b95-9eb3-ae578bfbcd34. (วันที่ค้นข้อมูล : 3 กุมภาพันธ์ 2560).

กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2559). ปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงต่อวัน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.doeb.go.th/2016/stat.html#c. (วันที่ค้นข้อมูล : 3 กุมภาพันธ์ 2560).

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2558). แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.dede.go.th/download/ files/AEDP2015_Final_ver-sion.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล : 7 มกราคม 2560).

กฤษชนก จงใจรักษ์. (2557). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องปรับอากาศ ของผู้บริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กฤติกา เลิศหาญ. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีพลังงานทางเลือกสำหรับรถยนต์ กรณีศึกษา การใช้แก๊สโซฮอล์ของผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลในเขตกรุงเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สามลดา.

จงจินต์ จิตร์แจ้ง. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบผู้บริโภคกับผู้บริโภคบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ กรณีศึกษา : ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ฉลองศรี พิมลสมพงษ์. (2548). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว.พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมศักดิ์ ตรียากิจ. (2552). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์และความตั้งใจในการซื้อซ้ำของผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2551). E20 พลังงานสะอาด ทางเลือกใหม่ของคนไทย. วารสารนโยบายพลังงาน. 79, 8 - 11.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

ภัทราภรณ์ วชิรโกเมน และธนภูมิ อติเวทิน. (2558). ความรู้ความเข้าใจ กระบวนการยอมรับนวัตกรรม ทัศนคติ และพฤติกรรมที่มีต่อพลังงานเชื้อเพลิงแก๊สโซฮอล์ของผู้ขับขี่รถยนต์ในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ. 6(1), 39 - 52.

ภิรมนวล ภักดีศรีศักดา. (2555). ความรู้ความเข้าใจ แรงจูงใจ และทัศนคติด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อแนวโน้มพฤติกรรมการเติมน้ำมันแก๊สโซฮอล์ E85 ของผู้ขับขี่รถยนต์ในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รุ่งโรจน์ สุบรรณจุ้ย. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจอุตสาหกรรม. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร. พระนคร. 2(1), 44 - 57.

อมร ชคทิศ. (2556).ปัจจัยการตลาดที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ซื้อรถบรรทุกในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

Arporn Pipattam. (2008). A Study of Factors Affecting Automobile Driver’s Decision on Declining to Use Gasohol. Master’ s Project, Business English for International Communication Srinakharinwirot University.

Bentler, P.M. and Chou, C.H. (1987). Practical Issues in Structural Modeling. Journal of Sociological Methods & Research. 16, 78 - 117.

Bovee, C.L., Houston, M.J. and Thill. J.V. (1995). Marketing. New York : McGraw-Hill.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. and Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. New Jersey : Pearson Perntice-Hall International Inc.

Kline, R.B. (1998). Principles and Practice of Structural Equation Modelling. 3rd ed. New York : Guilford Press.

Kotler, P. (2002). Marketing Management Millennium Edition. Boston : Pearson Custom Publishing.

McCarthy, E.J. and Perreault, W.D. (1990). Marketing : Export Marketing ; Management. 10th ed. United States : Irwin.

Pourdehghan, A. (2015). The Impact of Marketing Mix Elements on Brand Loyalty : A Case Study of Mobile Phone Industry. Journal of Marketing and Banding Research. 2, 44 - 63.

Schumacher, R.G. and Lomax, R.G. (2010). Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. 3rd ed. New York : Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10-02-2023