การส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดฟาง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ท้องถิ่น ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

สุดารัตน์ จงไกรจักร
เบญจรงค์ ทองนุช
ธนภรณ์ ชูเชื้อ
สหัสวรรษ พวงทอง
ณรงค์ศักดิ์ มีเเก้ว

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีประสงค์เพื่อการเสริมสร้างอาชีพการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดฟาง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนท้องถิ่น ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีวิธีการศึกษาจัดเวทีชุมชน การสังเกตการณ์พัฒนาและยกระดับผลผลิตภัณฑ์เห็ดฟางเพื่อสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดีจังหวัดสุราษธานี เป็นยกระดับเห็ดฟาง ได้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและมากขึ้น ซึ่งกลุ่มวิสาหกิจการเพาะเห็ดฟางมาแปรรูปมาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น น้ำพริกเผาเห็ดฟาง เห็ดสามรสและแหนมเห็ด เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและมีงานเสริมจากการทำอาชีพประจำมาเป็นรายได้เพื่อในการช่วยให้ครอบครัวมีเงินเก็บและสามารถนำมาใช้จ่ายในครัวเรือนได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมวิชาการ. (2544). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์. 2554. ข้อมูลการแปรรูปผลิตภัณฑ์. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.foodnetworksolution.com สืบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2562

สูตรการแปรรูปเห็ดและผลิตภัณฑ์เห็ด. (2561). ค้นเมื่อ สิงหาคม 14, 2562, จาก http://www.m-group.in.th/article/บทความ/สูตรการแปรรูปเห็ดและผล.html.

สารพัดเมนูแปรรูปเห็ด. (2560). ค้นเมื่อสิงหาคม 14, 2562, จาก http://www.okmd.or.th/upload/pdf/2560/KC/mushroom_processing.pd

หลากสแน็ก 'เมนูเห็ด' ผลิตผล 'ฟาร์มคุณยุ่ง'. (2558). ค้นเมื่อ สิงหาคม 14, 2562, จาก https://www.komchadluek.net/news/lifestyle/207415

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองกำแพงเพชร. 2561 ค้นเมื่อ สิงหาคม 15, 2562, จากhttp://www.cep.cdd.go.th ความเป็นมา แนวคิดและหลักการ OTOP