การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันมิติบุคคลของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Main Article Content

ธนัชชา คงสง
พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา

บทคัดย่อ

       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบเชิงยืนยันขององค์ประกอบมิติบุคคลของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประชากร คือ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 1,570 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ตัวอย่างใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ได้รับแบบสอบถามคืนมา จำนวน 394 ชุด โดยการวิจัยนี้เป็นแบบผสมผสาน (Mixed Method) ใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารระดับคณะจำนวน 5 คณะ  ผลการวิจัยพบว่า มิติบุคคลของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นองค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยมีค่า Chi-Square =245.08, df=210, P= 0.050 , CMIN/df=1.167, GFI = 0.948, AGFI= 0.925, CFI=0.989, RMSEA=0.022 และผู้บริหารระดับคณะมีความเห็นสอดคล้องกันว่า มิติบุคคล ประกอบด้วย การรับรู้ แรงจูงในการทำงาน และความสามารถในการปรับตัว

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ธนัชชา คงสง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พิพรรธน์ พิเชฐศิรประภา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

References

กองแผนงาน (2560). รายงานประจำปี 2560. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร

ธนัชชา คงสง (2562). การเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. 6,23-49.

Guo,J. Yang, L. & Shi, Q. (2017). Effects of perceptions of the learning environment and approaches to learning on Chinese undergraduates’ learning. Studies in Educational Evaluation. 55, 125-134.

Cai, Z, Huang, Q, Liu, H. & Wang, X. (2018). Improving the agility of employees through enterprise social medial : The mediating role of psychological conditions. International Journal of Information Management. 38, 52-63.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. บริษัทสุวีริยาสาส์น จำกัด.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, J., & Anderson, R.E., & Tathan, R.L. (2006). Multivariate data analysis (6ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

ระบบสารสนเทศบุคลากรมหาวิทยาลัย (UPIS) (2562). จำนวนบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.[ออนไลน์].จาก www.kmunb.ac.th. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2562.

สุวิมล ติรกานันท์ (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.

กริช แรงสูงเนิน (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

ยุทธ์ ไกยวรรณ์ (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Man,S.S., Chan, S.,H.A. & Alabdulkarim,S. (2019). Quantification of risk perception: Development and validation of the construction worker risk perception (CoWoRP) scale. Journal of Safety Research. 71, pp.25 – 39.

Tahseen Sleimi, M. & Davut, S. (2015). Intrinsic and Extrinsic Motivation: Pivotal Role in Bank Tellers Satisfaction and Performance: Case Study of Palestinian Local Banks International Journal of Business and Social Science 6,11.