รูปแบบการพัฒนากลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Main Article Content

ธนัชชา คงสง
พรรธน์ พิเชฐศิรประภา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะขององค์ประกอบมิติบุคคล ความร่วมมือในการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงานและกลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ 2) พัฒนารูปแบบกลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือโดยมีประชากร
และกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้สถิติบรรยายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบมิติบุคคล ความร่วมมือในการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงานและกลยุทธ์การทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการยุค 4.0 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน และรูปแบบกลยุทธ์เป็นรูปแบบที่สนับสนุนการทำงานของบุคลากรในปัจจุบันนี้

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ธนัชชา คงสง

นักวิชาการศึกษา สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พรรธน์ พิเชฐศิรประภา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

References

กองแผนงาน (2560). รายงานประจำปี 2560. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร

นคเรศ ณ พัทลุง (2011). ตัวแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเขตกรุงเทพมหานคร. SDU Res. J. 7(2), 30-38.

Sander J. E., Caza , A. Jordan, J., P. (2019). Psychological perceptions matter Developing the reactions to the physical work environment scale. Building and Environment 148, 338-347.

Kunisch, S., Keil, T., Michael Boppel, M. & Lechner, C. (2019). Strategic initiative portfolios:

How to manage strategic challenges better than one at a time. Business Horizons, 529 - 537.

Laamanen, T., Maula, M., Kajanto, M. & Kunnas, P. (2018). The role of cognitive load in effective strategic issue Management. Long Range Planning, 51, 625 – 639.

ระบบสารสนเทศบุคลากรมหาวิทยาลัย (UPIS) (2562). [ออนไลน์]จำนวนบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. [สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2562].จาก www.kmunb.ac.th.

สุวิมล ติรกานันท์ (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร.

สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์ (2549). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. พฤษภาคม, พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพมหานคร: ศรีอนันต์การพิมพ์.

สุวิมล ติรกานันท์ (2550). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่

การ ปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Best, J.W. and Kahn, J.V. Research in Education. 16 thed. Newdelli : Prentice-hall. Inc.1989.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, J., & Anderson, R.E., & Tathan, R.L. (2006). Multivariate data analysis (6ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Igbinoba, E. , Falola, H., Osibanjo, A. & Oludayo, O. (2018). Survey datasets on the influence of conflict management strategies on academic staff productivity in selected public universities in Nigeria. Data in Brief,322-325.