การจัดอีเวนท์ (Events) เพื่อการประชาสัมพันธ์ ยุค 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดอีเวนท์ (Events) เพื่อการประชาสัมพันธ์ ในยุค 4.0 หรือที่เรียกกันว่า “ยุคดิจิทัล” เพื่อเป็น
เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ และการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิธีการที่จะสร้างความร่วมมือในการทำกิจกรรมนำไปสู่การยอมรับแนวคิดอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยสื่อต่างๆ การประชาสัมพันธ์ในยุคสื่อดิจิทัลมาแรงเช่นนี้ ผู้ปฏิบัติงานด้านนี้ต้องเข้าใจ เข้าถึง การนำเสนอกิจกรรมที่สร้างแรงกระตุ้น และใช้วิธีการที่ถูกต้องในการนำเสนอผ่านสื่อ โดยคำนึงถึงพฤติกรรมของผู้รับสารอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน การจัดอีเวนท์เพื่อการประชาสัมพันธ์ในยุค 4.0 ไม่ได้ใช้แต่เพียงสร้างการรับรู้ แต่ยังเปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ามามีส่วนร่วม โดยอาศัยสื่อสังคมมาใช้กับการจัดอีเวนท์เพื่อการประชาสัมพันธ์ในแต่ละประเภทของการจัดอีเวนท์เพื่อการประชาสัมพันธ์ในยุค 4.0 ที่ตอบโจทย์แบบไลฟ์สไตล์ได้อย่างลงตัว
ความสำคัญของการจัดอีเวนท์เพื่อการประชาสัมพันธ์ คือ การสื่อสารในแง่ชื่อเสียง (Celebrity) องค์กร ภาพลักษณ์องค์กร และสื่อ Social media ที่องค์กรต้องอาศัยวัดผล “ความคุ้มค่า” กับงบประมาณที่ใช้ไปโดยพิจารณาการได้ผลตอบแทนคุ้มค่าที่สุด หรือเรียกกันว่า Event ROI หรือ Event แบบ Return on Investment(เป็นการวัดค่าตอบแทนในการวัดประสิทธิภาพของการโฆษณาด้านการประชาสัมพันธ์อันสูงสุด) : อีเวนท์แบบวัดผลได้มี 4 กฎวัดผลคุ้มค่า คือ 1. วัตถุประสงค์ 2. การวัดจากจำนวนคนที่เข้ามาร่วมอีเวนท์ 3. การวัดผลอีเวนท์จากการประชาสัมพันธ์ตามสื่อต่างๆ และ4. การสื่อสาร ซึ่งในแต่ละประเภทของการจัดอีเวนท์ก็วัดผลได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). การประชาสัมพันธ์ : ทฤษฎีและปฎิบัติ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทธีรฟิล์มและ
ไซเท็กซ์จำกัด.
บริษัทโธธ โซเชียล. (2560). [ออนไลน์]. เรื่องสรุปสถิติคนไทยที่ใช้ Social Media. [สืบค้นเมื่อ 3
ตุลาคม 2560]. จาก https://www.it24hrs.com/2016/stat-social-media-thai-populations/
ชุมชนของ นักเรียนการตลาดตลอดชีวิต (2560). [ออนไลน์]. Events ที่มีประโยชน์สูงสุดต่อนักการ
ตลาดไทย. [สืบค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2560]. จาก http://www.thumbsup.in.th
https://www.marketingooops.com/exclusive/how-to/how-to-promote-your-content
-earned-paid-owned-media. (2560). [ออนไลน์]. บทความการเปลี่ยนแปลงงาน Events ไปสู่
the world of online. [สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2560]. จาก http://www.prmatter.com/2017.
เกรียงไกร กาญจนะโภคิน. (2550). [ออนไลน์]. การตลาดเชิงกรรม กิจกรรม (Event Marketing)
Live Branding: The New Definition of Event Marketing bangkokbizweek. [สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม
. จาก http://regelearning.payap.ac.th/docu/th/203/content/news.htm.
ภากิตติ์ ตรีสกุล. (2550). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาหลักการประชาสัมพันธ์. บทที่ 3 กระบวนการ
ดำเนินงานประชาสัมพันธ์ กรุงเทพมหนคร : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
Hilary Du Cros and Lee Jolliffe. (2014) The Arts and Events. Taylor and Francis Seller : Taylor
& Francis Group
วรัชญ์ ครุจิต. (2555) คู่มือการประชาสัมพันธ์ ยุคดิจิตอล. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาลัยศรีปทุม
ไทยแลนด์ยอชต์โชว์. (2560). [ออนไลน์]. อ่าวปอแกรนด์มารีน่า. ภูเก็ต [สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2560].
จาก http://www.paulpoole.co.th
วิรัช ลภิรัตนกุล. (2546). การประชาสัมพันธ์ บทบาทของผู้บริหารกับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์
สื่อมวลชนสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2560). [ออนไลน์]. ความหมายในการจัดกิจกรรมพิเศษ.[สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน
. จาก http://www.researchsystem.siam.edu/ images/01Pawat/Pawat358/ Pawat159/
/05_ch2.pdf
วาสนา จันทร์สว่าง. (2534). [ออนไลน์]. การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการประชาสัมพันธ์. [สืบค้นเมื่อ 13
พฤศจิกายน 2560]. จาก http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/date/sms/market/
Unit8/u8ban.htm
Silvers, Julia Rutherford. (2004). [online]. Professional Event Coordination.
New Jersey: John Wiley & Sons, Inc. [cited 4 October 2017]. [สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2560].
จาก http://www.juliasilvers.com/publicat.htm
จิตรภัทร์ จึงอยู่สุข. (2543). การมีส่วนรวม ทัศนคติ การตัดสินใจซื้อ ความภักดีต่อตราสินค้าความเกี่ยวพันสูง
และสินค้าความเกี่ยวพันต่ำที่มีการจัดการตลาดเชิงกิจกรรมของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร.
วิทยามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐา ฉางชูโต. (2544). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแส Social Network วารสารนักบริหาร ปีที่ 3
ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน 2554 หน้า 173-183) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Ian Yeoman, Martin Robertson, Una McMahon-Beattie, Elisa Backer and Karen A. Smith.
(2015). The Future of Events and Festivals. Rout ledge Taylor & Francis Group LONDON
AND NEW YORK.