การใช้วิธีการสอนแบบ 4K โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน

Main Article Content

บุญญลักษม์ ตำนานจิตร

บทคัดย่อ

การใช้วิธีการสอนแบบ 4K โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้สอนในการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ และทักษะในการชี้นำแนวทางการเรียนรู้ ให้คำแนะนำเมื่อผู้เรียนมีปัญหาหรือมีข้อสงสัยในกิจกรรม และผู้สอนควรชี้ให้ผู้เรียนเห็นถึงข้อดีและข้อเสียของแต่ละวิธีการแก้ปัญหาช่วยให้ผู้เรียนสามารถตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบ สร้างแรงจูงใจโดยให้ผู้เรียนกำหนดการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี การพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนเป็นการนำไปใช้กับเนื้อหาวิชาห้องสมุดและวิทยาศาสตร์สารสนเทศซึ่งเป็นวิชาชีพที่ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ สามารถคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อแสวงหาการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

บุญญลักษม์ ตำนานจิตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำหลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำหลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

References

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). (ร่าง) กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560- 2575. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

ไพศาล สุวรรณน้อย. (2560). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการเรียนการสอน เรื่อง การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning: PBL). ขอนแก่น : สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญญลักษม์ ตำนานจิตร. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานด้วยกระบวนการจัดการความรู้รายวิชาการจัดการห้องสมุดและองค์กรสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ดิชิตชัย เมตตาริกานนท์ และเดชดนัย จุ้ยชุม. (2559). สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์: การสร้างความพร้อมเพื่อการเป็นบรรณารักษ์ในศตวรรษที่ 21. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม). 87-97.

สันติ จิตระจินดา. (2560). เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิด Active Learning. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2559 (IMD 2016). กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.

Alavi, M. (2015). [ออนไลน์]. Knowledge management and knowledge management system. [cited June 8, 2015] from : http://www.rhsmith.umd.edu/ malavi/icis-97-KMS/ index.htm.

Arthur, Anderson and the American Productivities and Quality Center. (1995). The Knowledge Management Assessment Tool (KMAT). Houston (APOC), Texas.

Nonaka, I., and Takeuchi, H.. (1996). The knowledge creating company : How Japanese companies create the dynamics of innovation. Personnel Psychology.

Holsapple, C. W., & K.D. Joshi,. (2001). An Investigation of Factors that Influence the Management of Knowledge in Organizations, Journal of Strategic Information Systems. 9(2/3): 235-260.

Laudon, K.C. & Laudon, J.P.. (2002). Management information system : Managing the digital firm. 7th ed Upper Saddle Rever. New Jersey : Prentice Hall.

Turban, et al.. (2001). Introduction to Information Technology. Toronto : John Wiley & Sons.

น้ำทิพย์ วิภาวิน. (2550). ห้องสมุดในฝัน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฑามาศ สุคนธา. (2560). การศึกษาเปรียบเทียบผลการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานกับการสอนตามแนวธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ Linking Ideas ของนักศึกษารายวิชา EBC332 สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ศรีปทุม.

Hiemstra R. (1994). Self-directed Learning. In Husen T, Postlethwaite TN(Eds). The International Encyclopedia of Education. 2nd ed. Oxford: Pergamon Press.

Brown. Dave. F. (2002). Self-Directed Learning in an 8th Grade classroom. Education Leadership, 60(1): 54-58.