ผลการใช้โปรแกรมเสริมสร้างสมรรภาพทางกายและทักษะการยิงประตูฟุตบอล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โครงการห้องเรียนพิเศษ ด้านกีฬาฟุตบอล

Main Article Content

ระวี มาตรินทร์
ญดา ธาดาณัฐภักดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทักษะการยิงประตูฟุตบอล 2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายและทักษะการยิงประตู และ3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทักษะการยิงประตูฟุตบอล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โครงการห้องเรียนพิเศษด้านกีฬาฟุตบอล โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น เพศชาย จำ นวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 2) โปรแกรมเสริมสร้างทักษะการยิงประตูฟุตบอล 2) แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย 3) แบบทดสอบทักษะการยิงประตู และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกาย และทักษะการยิงประตู ก่อนการฝึกและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 12 โดยใช้สถิติ Wilcoxon signed rank test กำ หนดค่าความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ .05


ผลการวิจัยปรากฏดังนี้


1. ทักษะการยิงประตู ด้านความเร็ว ด้านการทรงตัว ด้านความแม่นยำ และคะแนนรวม 3 ด้านมีค่าที่ดีขึ้นกว่าก่อนการฝึก และการเปรียบเทียบทักษะการยิงประตู พบว่า เวลาในการทดสอบ จำนวนที่ชนกรวย ตำ แหน่งที่ยิงประตู และคะแนนรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ .05


2. สมรรถภาพทางกาย ด้านความอ่อนตัว ด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ด้านความอดทนของกล้ามเนื้อ และด้านความอดทนของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ มีค่าที่ดีขึ้นกว่าก่อนการฝึก และการเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกาย พบว่า ชีพจรขณะพัก ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ ก่อนการฝึกและหลังการฝึกไม่แตกต่างกัน ส่วนความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ .05


3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทักษะการยิงประตูฟุตบอล โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
มาตรินทร์ ร., & ธาดาณัฐภักดิ์ ญ. . (2022). ผลการใช้โปรแกรมเสริมสร้างสมรรภาพทางกายและทักษะการยิงประตูฟุตบอล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โครงการห้องเรียนพิเศษ ด้านกีฬาฟุตบอล . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(4), 121–134. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/959
บท
บทความวิจัย

References

กรมพลศึกษา. (2554). การอบอุ่นร่างกาย. กรุงเทพฯ: กลุ่มพัฒนาการวิจัยและพัฒนาสำ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา.

กรรวี บุญชัย. (2558). ความสำ คัญของการสอนทักษะการเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานสำ หรับเด็กปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์สาร, 9(2), 103-109.

เกชา พูลสวัสดิ์. (2548). ผลของการฝึกเสริมพลัยโอเมตริกที่มีต่อการพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไวของนักกีฬาฟุตบอลอายุระหว่าง 14-16 ปี. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เจริญ กระบวนรัตน์. (2552). การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชาติชาย โหรากุล. (2554). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 [วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].

เนตรทราย พัฒนพงษ์. (2558). ผลการใช้โปรแกรมการฝึกความคล่องแคล่วว่องไวในการยิงประตูฟุตบอลโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาด้านทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันส์สำ หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 [วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

มหาวิทยาลัยบูรพา].

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น

ประยง กําประโคน. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาในชั้นเรียนกับโปรแกรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายในโรงเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดนครราชสีมา [วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (พลศึกษา). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น].

รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร. (2542). กีฬาฟุตบอล. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ 1999.

ศิลปชัย สุวรรณธาดา. (2532). จิตวิทยาการกีฬา. กรุงเทพมหานคร: เอกสารประกอบการบรรยาย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิลปชัย สุวรรณธาดา. (2548). การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหวทฤษฎีและปฏิบัติการ. สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุขสวัสดิ์ ชนะพาล. (2550). ผลของการฝึกเสริมด้วยโปรแกรมการฝึกความคล่องแคล่วว่องไว้ที่มีต่อความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอล อายุ 12-14 ปี [วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (พลศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ].

สุนทรา กล้าณรงค์. (2540). ฟุตบอล 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพลศึกษาและสุขศึกษามหาวิทยาลัยทักษิณ. สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา. (2563). แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา (อายุ13-18ปี). กรุงเทพมหานคร: สำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา; 2562.

อภิสิทธิ์ วงศ์สุทธิ์. (2560). ผลการฝึกทักษะการส่งลูกฟุตบอลด้วยข้างเท้าด้านในและหลังเท้าที่มีผลต่อความแม่นยำ ในการส่งลูกฟุตบอล [Doctoral dissertation, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์].

อัมพร ชัยสวัสดิ์. (2553). ผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยใช้การเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) เรื่อง วันสำ คัญทางพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 [วิทยานิพนธ์ ค.ม. หลักสูตรและการสอน. ชัยภูมิ: มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ].

อุดม จอกรบ. (2545). ผลของการฝึกความอ่อนตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่มีต่อความแม่นยำในการเตะลูกฟุตบอล. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ. DOI: https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=

Allen WK, Seals DR, Hurley BF, Ehsani AA, Hagberg JM. (1985). Lactate threshold and distance-running performance in young and older endurance athletes. J Appl Physio Apr, 58(4), 1281-4.

Briggs, D. E., Brookes, P. A., Stevens, R. B. C. A., & Boulton, C. A. (2004). Brewing: science and practice (Vol. 108). Woodhead Publishing.

Carter V. Good. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book Company.

Davies P. (2005). Total soccer fitness. RIO Network LLC. USA