การจัดการเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา

Main Article Content

ชัชวาลย์ ลิ้มรัชตะกุล
พิมวิภา บุบผาสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำ หรับเด็กปฐมวัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำ หรับเด็กปฐมวัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา ประชากร คือ เด็กปฐมวัย อายุระหว่าง 5-6 ขวบ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม จำ นวน 120 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม ได้เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 3/5 จำ นวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน 2) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำ หรับเด็กปฐมวัย และ 3) แบบประเมินพึงพอใจของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำ หรับเด็กปฐมวัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1) เด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์โดยรวมสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ผู้ปกครองของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/5 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ลิ้มรัชตะกุล ช., & บุบผาสุข พ. . (2022). การจัดการเรียนรู้โดยใช้บ้านเป็นฐานบูรณาการกับการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(4), 22–34. สืบค้น จาก https://so09.tci-thaijo.org/index.php/JOEMSU/article/view/942
บท
บทความวิจัย

References

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2549). การสอนคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย. วารสารการศึกษาปฐมวัย, 10(2), 37-40.

จิราพร นิลมุก. (2560). การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยการจัด ประสบการณ์ด้วยกระบวนการวิจัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

ประจักษ์ เอนกฤทธิ์มงคล. (2560). การพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พงศ์ทัศ วนิชานันท์. (2564). การศึกษาพื้นฐานในยุค โควิด-19: จะเปิด-ปิดโรงเรียนอย่างไร?. https://tdri.or.th/2020/05/basiceducation-in-covid-19-crisis-reopening-school-after-lockdown/

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สำ นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. มูลนิธิสยามกัมมาจล.

ศิริพันธุ์ เตชิตธนวรรธน์. (2564). การแก้ปัญหาเด็กจำ ตัวเลขไม่ได้และไม่รู้ค่าของจำ นวน 1-10 (รูปแบบการจัดการเรียนการสอน On- hand /on -demand) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา. งานวิจัยในชั้นเรียน. โรงเรียนบ้านหนองจอกวังกำ แพง.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2563). กรอบการเรียนรู้ และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. โกโกพริ้นท์ (ไทยแลนด์)

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2564). Home-Based Learning สิงคโปร์ ต้นแบบการศึกษายุคโควิดระบาด. https://shorturl.asia/sE7h8

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อัมพร ม้าคนอง. (2557). คณิตศาสตร์สำ หรับครูมัธยม. ศูนย์ตำ ราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chen, J. A., & Pajares, F. (2010). Implicit theories of ability of grade 6 science students: Relation to epistemological beliefs and academic motivation and achievement in science. Contemporary Educational Psychology, 35(1), 75–87.

Jeremy, F. S. (2007). The effects of the classroom flip on the learning environment: A comparison of learning activity in a traditional classroom and a flip classroom that used an intelligent tutoring system [Doctoral dissertation]. Ohio State University, USA.

Pollio, H. R., & Whitacre, J. D. (1970). Some observation on the use of natural numbers by preschool children. Perceptual and Motor Skills, 30(1), 167-174